เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1134637    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา : รายงานการวิจัย / โดย เยาวลักษณ์ แก้วยอด
ชื่อเรื่องThe Study of Community Participation in Agro-Tourism Development in Wang Nam Khiao Sufficiency Economy Settlement, Nakhon Ratchasima Province
 รายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
Dewey Call #338.4791 ย517น
ผู้แต่งเยาวลักษณ์ แก้วยอด
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงเกษตร--วิจัย
 ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, 2557
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา : รายงานการวิจัย / โดย เยาวลักษณ์ แก้วยอด
ชื่อเรื่องThe Study of Community Participation in Agro-Tourism Development in Wang Nam Khiao Sufficiency Economy Settlement, Nakhon Ratchasima Province
 รายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
Dewey Call #338.4791 ย517น
ผู้แต่งเยาวลักษณ์ แก้วยอด
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, 2557
Seriesเอกสารวิจัย; 226
ชื่อชุดเอกสารวิจัย; 226
เนื้อหาการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน -- นิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน -- การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -- การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน -- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุการศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทชุมชน และการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว สักยภาพของชุมชนด้านที่นำไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วม และแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วม ในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม(Participatory Rural Appraisal : PRA) การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มย่อย และการใช้ SWOT เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัด ของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลการศึกษา สรุปได้ว่า ชุมชนนิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เนื่องจากพื้นที่ตั้งอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีเส้นทางที่สามารถเชื่อมต่อไปยังแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พื้นที่มีศักยภาพในการผลิตพืชผักมีหลากหลายโดยเฉพาะผักเมืองหนาว เกษตรกรสามารถผลิตพืชผักได้อย่างต่อเนื่องและปลอดภัยจากสารพิษรวมถึงมีองค์ความรู้ในการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการทำการเกษตรเพื่อยังชีพ และสร้างรายได้ที่พร้อมถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชน คือ การวางรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในลักษณะการศึกษาดูงาน การกำหนดตารางกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายในชุมชนแบบใช้เวลา 1 วัน กิจกรรมหลักประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ด้านการผลิตพืชผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงสัตว์ และอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมของชุมชน การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผักปลอดสารพิษ และผลิตภัณฑ์ชุมชน การให้บริการอาหารสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการค้างแรมมีการให้บริการเต็นท์และพื้นที่สำหรับกางเต็นท์ในอนาคตมีแนวทางพัฒนาบ้านของเกษตรกรให้เป็นที่รองรับนักท่องเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตย์(Homestay)
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงเกษตร--วิจัย
 ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ92 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 02915nam a2200241 a 4500
005 20190131141826.0
008 141224s2557 th a 000 ‡ tha d
08204‡a338.4791‡bย517น
1000_‡aเยาวลักษณ์ แก้วยอด
24510‡aแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา :‡bรายงานการวิจัย /‡cโดย เยาวลักษณ์ แก้วยอด
24631‡aThe Study of Community Participation in Agro-Tourism Development in Wang Nam Khiao Sufficiency Economy Settlement, Nakhon Ratchasima Province
24630‡aรายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม,‡c2557
300__‡a92 หน้า : ‡bภาพประกอบ
4901_‡aเอกสารวิจัย; 226
502__‡aการศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วมในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทชุมชน และการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว สักยภาพของชุมชนด้านที่นำไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วม และแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนมีส่วนร่วม ในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม(Participatory Rural Appraisal : PRA) การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มย่อย และการใช้ SWOT เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัด ของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลการศึกษา สรุปได้ว่า ชุมชนนิคมเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอวังน้ำเขียว มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เนื่องจากพื้นที่ตั้งอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีเส้นทางที่สามารถเชื่อมต่อไปยังแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พื้นที่มีศักยภาพในการผลิตพืชผักมีหลากหลายโดยเฉพาะผักเมืองหนาว เกษตรกรสามารถผลิตพืชผักได้อย่างต่อเนื่องและปลอดภัยจากสารพิษรวมถึงมีองค์ความรู้ในการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการทำการเกษตรเพื่อยังชีพ และสร้างรายได้ที่พร้อมถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชน คือ การวางรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในลักษณะการศึกษาดูงาน การกำหนดตารางกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายในชุมชนแบบใช้เวลา 1 วัน กิจกรรมหลักประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ด้านการผลิตพืชผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงสัตว์ และอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมของชุมชน การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผักปลอดสารพิษ และผลิตภัณฑ์ชุมชน การให้บริการอาหารสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการค้างแรมมีการให้บริการเต็นท์และพื้นที่สำหรับกางเต็นท์ในอนาคตมีแนวทางพัฒนาบ้านของเกษตรกรให้เป็นที่รองรับนักท่องเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตย์(Homestay)
5052_‡aการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน -- นิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน -- การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -- การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน -- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงเกษตร‡xวิจัย
650_7‡aชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xแง่เศรษฐกิจ‡xวิจัย
830_0‡aเอกสารวิจัย; 226
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
181070338.4791 ย517นวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
181071338.4791 ย517น ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด