ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1135281
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง / สมทรง บุรุษพัฒน์
Dewey Call #
495.917 ส16ก
ผู้แต่ง
สมทรง บุรุษพัฒน์
หัวเรื่อง
ภาษาไทย--ภาษาถิ่น--วิจัย
ภาษาไทยโซ่ง--การออกเสียง--วิจัย
ISBN
9786162793394
พิมพลักษณ์
นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
ชื่อเรื่อง
การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง / สมทรง บุรุษพัฒน์
Dewey Call #
495.917 ส16ก
ผู้แต่ง
สมทรง บุรุษพัฒน์
ISBN
9786162793394
พิมพลักษณ์
นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
เนื้อหา
ระบบเสียงไทดำ/ไทยโซ่ง -- ระบบคำไทดำ/ไทยโซ่ง -- ระบบไวยากรณ์ไทดำ/ไทยโซ่ง -- พยัญชนะ -- สระ -- สรุป --การแยกเสียงและรวมเสียงของวรรณยุกต์ -- สัทลักษณะของวรรณยุกต์ของภาษาไทยโซ่ง -- สัทลักษณะของวรรณยุกต์ของภาษาไทดำ
หมายเหตุ
โครงการวิจัยเรื่อง ชาติพันธุ์ กระบวนทัศน์ใหม่ในการสืบสานภาษาและวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือศึกษาการแปรของเสียงในภาษาไทยโซ่งตามตัวแปรอายุและภูมิภาค และศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยโซ่งเป็นกรณีศึกษาในจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี โดยเปรียบเทียบกับภาษาไทดำพูดที่จังหวัดเซินลา ประเทศเวียดนามการแปรของพยัญชนะได้วิเคราะห์ตามพยัญชนะไทดำดั้งเดิมที่สืบสร้างโดย Theraphan L-Thongkum (2002a) การเปลี่ยนแปลงพยัญชนะของภาษาไทยโซ่ง หากมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างจากภาษาไทย จะพบว่าผู้พูดภาษาไทยโซ่งวัยหนุ่มสาวใช้พยัญชนะภาษาไทยกรุงเทพ มากกว่าผู้พูดภาษาไทยโซ่งวัยสูงอายุ เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาไทดำ พบว่าภาษาไทยโซ่งยังคงรักษาพยัญชนะดั้งเดิมไทดำ (ระยะที่สอง) ไว้ได้มากกว่าภาษาไทดำ การศึกษาการแปรของสระภาษาไทยโซ่งพบว่า คนวัยกลางคนและวัยหนุ่มสาวเริ่มใช้สระภาษาไทย การแปรตามภูมิภาคมีบ้าง แต่เป็นส่วนน้อยผลการศึกษาการแปรของวรรณยุกต์พบว่า ผู้พูดภาษาไทยโซ่งทุกวัยในทุกถิ่นรวมทั้งภาษาไทดำยังคงใช้ระบบวรรณยุกต์เหมือนกันคือมีวรรณยุกต์จำวน 6 วรรณยุกต์ที่เกิดจากการแยกเสียงของวรรณยุกต์ดั้งเดิม A, B, C, DL, DS เป็นสองทางคือ ABCD123-4 วรรณยุกต์ DL รวมเสียงกับวรรณยุกต์ DS วรรณยุกต์ DLDS123 และ DLDS4 รวมเสียงกับวรรณยุกต์ B123 และ B4 ตามลำดับ แม้ว่าการแยกเสียงและรวมเสียงของวรรณยุกต์เหมือนกันในทุกภูมิภาค สัทลักษณะของวรรณยุกต์แตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญตามภูมิภาคต่างๆ ถึงแม้จะมีการแปรของสัทลักษณะวรรณยุกต์ ก็สามารถกำหนดสัทลักษณะหลักของวรรณยุกต์ทั้งหกโดยพิจารณาจากสัทลักษณะที่มีความถี่ของการออกเสียงมากที่สุด วรรณยุกต์ A123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำตกขึ้น วรรณยุกต์ A4 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำขึ้นตก วรรณยุกต์ B123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำตกขึ้นสูง วรรณยุกต์ B4 มีสัทลักษณะหลักหลางระดับ วรรณยุกต์ C123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำ ตก บีบที่เส้นเสียง และวรรณยุกต์ C4 มีสัทลักษณะหลักกลางตก บีบที่เส้นเสียง สัทลักษณะวรรณยุกต์ของผู้พูดวัยหนุ่มสาวบางคนในบางจังหวัดแตกต่างจากสัทลักษณะหลัก และไม่ปรากฏลักษณะการบีบที่เส้นเสียงของวรรณยุกต์ C4 สัทลักษณะวรรณยุกต์ A123 และ A4 ของภาษาไทดำแตกต่างจากภาษาไทยโซ่งตรงที่เป็นวรรณยุกต์ระดับ
หัวเรื่อง
ภาษาไทย--ภาษาถิ่น--วิจัย
ภาษาไทยโซ่ง--การออกเสียง--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
215 หน้า : ภาพประกอบ
LDR
02740nam a2200217 4500
005
20150328113800.0
008
150323s2556 th ab ‡‡‡ ‡ tha d
020
__
‡a9786162793394
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a495.917‡bส16ก
100
0_
‡aสมทรง บุรุษพัฒน์
245
10
‡aการแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง /‡cสมทรง บุรุษพัฒน์
260
__
‡aนครปฐม :‡bสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล,‡c2556
300
__
‡a215 หน้า : ‡bภาพประกอบ
500
__
‡aโครงการวิจัยเรื่อง ชาติพันธุ์ กระบวนทัศน์ใหม่ในการสืบสานภาษาและวัฒนธรรม
502
__
‡aวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือศึกษาการแปรของเสียงในภาษาไทยโซ่งตามตัวแปรอายุและภูมิภาค และศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยโซ่งเป็นกรณีศึกษาในจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี โดยเปรียบเทียบกับภาษาไทดำพูดที่จังหวัดเซินลา ประเทศเวียดนามการแปรของพยัญชนะได้วิเคราะห์ตามพยัญชนะไทดำดั้งเดิมที่สืบสร้างโดย Theraphan L-Thongkum (2002a) การเปลี่ยนแปลงพยัญชนะของภาษาไทยโซ่ง หากมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างจากภาษาไทย จะพบว่าผู้พูดภาษาไทยโซ่งวัยหนุ่มสาวใช้พยัญชนะภาษาไทยกรุงเทพ มากกว่าผู้พูดภาษาไทยโซ่งวัยสูงอายุ เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาไทดำ พบว่าภาษาไทยโซ่งยังคงรักษาพยัญชนะดั้งเดิมไทดำ (ระยะที่สอง) ไว้ได้มากกว่าภาษาไทดำ การศึกษาการแปรของสระภาษาไทยโซ่งพบว่า คนวัยกลางคนและวัยหนุ่มสาวเริ่มใช้สระภาษาไทย การแปรตามภูมิภาคมีบ้าง แต่เป็นส่วนน้อยผลการศึกษาการแปรของวรรณยุกต์พบว่า ผู้พูดภาษาไทยโซ่งทุกวัยในทุกถิ่นรวมทั้งภาษาไทดำยังคงใช้ระบบวรรณยุกต์เหมือนกันคือมีวรรณยุกต์จำวน 6 วรรณยุกต์ที่เกิดจากการแยกเสียงของวรรณยุกต์ดั้งเดิม A, B, C, DL, DS เป็นสองทางคือ ABCD123-4 วรรณยุกต์ DL รวมเสียงกับวรรณยุกต์ DS วรรณยุกต์ DLDS123 และ DLDS4 รวมเสียงกับวรรณยุกต์ B123 และ B4 ตามลำดับ แม้ว่าการแยกเสียงและรวมเสียงของวรรณยุกต์เหมือนกันในทุกภูมิภาค สัทลักษณะของวรรณยุกต์แตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญตามภูมิภาคต่างๆ ถึงแม้จะมีการแปรของสัทลักษณะวรรณยุกต์ ก็สามารถกำหนดสัทลักษณะหลักของวรรณยุกต์ทั้งหกโดยพิจารณาจากสัทลักษณะที่มีความถี่ของการออกเสียงมากที่สุด วรรณยุกต์ A123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำตกขึ้น วรรณยุกต์ A4 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำขึ้นตก วรรณยุกต์ B123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำตกขึ้นสูง วรรณยุกต์ B4 มีสัทลักษณะหลักหลางระดับ วรรณยุกต์ C123 มีสัทลักษณะหลักกลางต่ำ ตก บีบที่เส้นเสียง และวรรณยุกต์ C4 มีสัทลักษณะหลักกลางตก บีบที่เส้นเสียง สัทลักษณะวรรณยุกต์ของผู้พูดวัยหนุ่มสาวบางคนในบางจังหวัดแตกต่างจากสัทลักษณะหลัก และไม่ปรากฏลักษณะการบีบที่เส้นเสียงของวรรณยุกต์ C4 สัทลักษณะวรรณยุกต์ A123 และ A4 ของภาษาไทดำแตกต่างจากภาษาไทยโซ่งตรงที่เป็นวรรณยุกต์ระดับ
505
2_
‡aระบบเสียงไทดำ/ไทยโซ่ง -- ระบบคำไทดำ/ไทยโซ่ง -- ระบบไวยากรณ์ไทดำ/ไทยโซ่ง -- พยัญชนะ -- สระ -- สรุป --การแยกเสียงและรวมเสียงของวรรณยุกต์ -- สัทลักษณะของวรรณยุกต์ของภาษาไทยโซ่ง -- สัทลักษณะของวรรณยุกต์ของภาษาไทดำ
650
_7
‡aภาษาไทย‡xภาษาถิ่น‡xวิจัย
650
_7
‡aภาษาไทยโซ่ง‡xการออกเสียง‡xวิจัย
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
185264
495.917 ส16ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
193059
495.917 ส16ก ฉ.2
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
สมทรง บุรุษพัฒน์. (2556).
การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง .
นครปฐม :สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
สมทรง บุรุษพัฒน์.
การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง .
นครปฐม :สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
สมทรง บุรุษพัฒน์. 2556.
การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง .
นครปฐม :สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
สมทรง บุรุษพัฒน์. การแปรและการเปลี่ยนแปลง เสียงในภาษาไทยโซ่ง . นครปฐม :สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล; 2556.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
250/251
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
11/14/2560
จำนวนการยืม
1
เปิดดู (ครั้ง)
201
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.