เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1138157    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในชุมชนสงขลาสมัยต้นรัตนโกสินทร์ / กณิกนันท์ อำไพ
Dewey Call #751.73 ก14จ
ผู้แต่งกณิกนันท์ อำไพ
หัวเรื่องจิตรกรรมฝาผนัง
 จิตรกรรมฝาผนังไทย--วิจัย
 จิตรกรรมฝาผนังไทย--สมัยรัตนโกสินทร์
ISBN9744642777
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548
ชื่อเรื่องจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในชุมชนสงขลาสมัยต้นรัตนโกสินทร์ / กณิกนันท์ อำไพ
Dewey Call #751.73 ก14จ
ผู้แต่งกณิกนันท์ อำไพ
ISBN9744642777
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548
เนื้อหาประวัติความเป็นมาของวัดโพธิ์ปฐมาวาส -- จิตรกรรมฝาผนังภายในอูโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส -- วัดโพธิ์ปฐมาวาสกับชุมชนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ)) -- มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548
หัวเรื่องจิตรกรรมฝาผนัง
 จิตรกรรมฝาผนังไทย--วิจัย
 จิตรกรรมฝาผนังไทย--สมัยรัตนโกสินทร์
ลักษณะทางกายภาพ214 หน้า
LDR 02423nam a2200229 4500
005 20160620102600.0
008 160620s2548 th tha d
020__‡a9744642777
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a751.73‡bก14จ
1000_‡aกณิกนันท์ อำไพ
24510‡aจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในชุมชนสงขลาสมัยต้นรัตนโกสินทร์ /‡cกณิกนันท์ อำไพ
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยศิลปากร,‡c2548
300__‡a214 หน้า
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ)) -- มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548
5052_‡aประวัติความเป็นมาของวัดโพธิ์ปฐมาวาส -- จิตรกรรมฝาผนังภายในอูโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส -- วัดโพธิ์ปฐมาวาสกับชุมชนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
5203_‡aการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาและตีความงานจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา เพื่อให้ทราบถึงที่มา แนวความคิด และวัตถุประสงค์ในการเขียนภาพจิตรกรรมเนื่องจากจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธิ์ปฐมาวาสมีแนวความคิดและการแสดงออกที่อยู่นอกกรอบแบบแผนประเพณีเดิม แตกต่างไปจากงานจิตรกรรมฝาผนังส่วนใหญ่ที่พบในภาคใต้สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ในการศึกษาวิจัย สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. จิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาสเน้นการเขียนภาพบันทึกเหตุการณ์ตามความเป็นจริงและปริศนาธรรม ซึ่งภาพเขียนเหล่านี้ได้สะท้อนแนวคิด ความเชื่อ สภาพสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนสงขลาในขณะนั้น และการพยายามสร้างสรรค์งานจิตรกรรมฝาผนังในรูปแบบใหม่ๆ โดยไม่ยึดติดกับแนวประเพณีเดิม ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเขียนงานจิตรกรรมในลักษณะดังกล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและแนวความคิดในงานศิลปกรรมจากจิตรกรรมแบบประเพณีมาสู่จิตรกรรมแบบประยุกต์ตะวันตก และการรับเอาแนวพระราชนิยมในสมัยรัชกาลที่ 4 มาใช้ตามความประสงค์ของเจ้าพระยาวิเชียรคีรี (บุญสังข์ ณ สงขลา) โดยใช้วัดโพธิ์ปฐมาวาสเป็นแหล่งทดลองงาน อันเนื่องมาจากความเหมาะสมในหลายด้าน เช่น ตำแหน่งที่ตั้งและขนาดของวัด สภาพชุมชนที่อยู่รอบๆ วัด เป็นต้น 2. ปัจจัยด้านความหลากหลายทางเชื้อชาติศาสนาและสถานการณ์ทางการเมืองการปกครองในเมืองสงขลา คือเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ทำให้เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (บุญสังข์ ณ สงขลา)นำเรื่องราวของพิธีกรรมในศาสนาอื่นๆ มาทดลองเขียนในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธิ์ปฐมาวาส เพราะนอกจากจะเป็นการบอกเล่าเรื่องราวชีวิตของคนในชุมชนที่แตกต่างกันในด้านประเพณีและวัฒนธรรมแล้ว ยังเป็นการแฝงจุดประสงค์ทางการเมืองการปครองเพื่อลดความขัดแย้งทางเชื้อชาติศาสนา และเพิ่มความสมานฉันท์ภายในท้องถิ่นอีกด้วย
650_7‡aจิตรกรรมฝาผนัง
650_7‡aจิตรกรรมฝาผนังไทย--วิจัย
650_7‡aจิตรกรรมฝาผนังไทย--สมัยรัตนโกสินทร์
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
182859751.73 ก14จวิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด