ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1138160
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร : รายงานการวิจัย / ชนิตา อ้นโตน
ชื่อเรื่อง
Feasibility Study of Biodiesel Production using Extracted Oil from Taonam Algae (Spirogyra sp.) at Kaeng yao, Chumphon Prouince
Dewey Call #
665.3 ช15ก
ผู้แต่ง
ชนิตา อ้นโตน
ผู้แต่งเพิ่มเติม
เบญจวรรณ ปานสกุล
หัวเรื่อง
วิจัย
ไบโอดีเซล--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2558
ชื่อเรื่อง
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร : รายงานการวิจัย / ชนิตา อ้นโตน
ชื่อเรื่อง
Feasibility Study of Biodiesel Production using Extracted Oil from Taonam Algae (Spirogyra sp.) at Kaeng yao, Chumphon Prouince
Dewey Call #
665.3 ช15ก
ผู้แต่ง
ชนิตา อ้นโตน
ผู้แต่งเพิ่มเติม
เบญจวรรณ ปานสกุล
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2558
หมายเหตุ
จากวิกฤตการณ์ราคาน้ำมันในตลาดโลกที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ให้ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมถึงประชาชนทั่วไป รวมถึงการต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากในการนำเข้าน้ำมันดิบ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ต้องมองหาแหล่งพลังงานใหม่มาทดแทนน้ำมันปิโตรเลียมงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากสาหร่ายเทานั้น (Spirogyra sp.) ในแก่งยาว ตำบลนาสัก อำเภอสวี จังหวัดชุมพร โดยศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันสาหร่ายด้วยกระบวนการต้มรีฟลักซ์ ด้วยตัวทำละลาย 2 ชนิด (เฮกเซน และปิโตรเลียมอีเทอร์) ที่อัตราส่วนของสาหร่ายแห้งต่อตัวทำละลาย 1:2, 1:3, 1:4, และ 1:5 ระยะเวลาในการสกัด 1, 3, 4 และ 5 ชั่วโมง และทดลองสอบปริมาณกรดไขมันอิสระของน้ำมันจากสาหร่าย ผลการศึกษาพบว่า ที่ระยะเวลาในการสกัดเท่ากับ 5 ชั่วโมง ที่อัตราส่วนระหว่างสาหร่ายต่อปิโตรเลียมอีเทอร์ 1:5 ให้ร้อยละประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันสาหร่าย (% yield of algae oil) สูงที่สุด คือ 3.37 รองลงมาคือ 1:4 (สาหร่ายต่อปิโตรเลยมอีเทอร์) ,1:5 (สาหร่ายต่อเฮกเซน) และ 1:4 (สาหร่ายต่อเฮกเซน) มีร้อยละประสิทธิภาพการผลิตนำมันสาหร่าย เท่ากับ 2.80, 2.08 และ 1.97 ตามลำดับ เมื่อนำค่าร้อยละละประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันสาหร่ายของตัวทำละลาย มาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติแบบ t-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่วนคุณภาพของน้ำมันสาหร่ายเท่าน้ำมีปริมาณกรดไขมันอิสระเท่ากับ ร้อยละ 16.70 0.011 ซึ่งสูงกว่าค่ามาตรฐาน (มาตรฐานของสถาบันวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนนำมันปาล์มและพืชนำมันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) สำหรับการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตเบื้องต้นของน้ำมันที่สกัดจากสาหร่ายเทาน้ำ (คิดที่ร้อยละประสิทธิภาพในการผลิตเป็นน้ำมันสูงสุด) เพื่อผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซล 1 ลิตร พบว่าไม่คุ้มทุน เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีปริมาณน้อย และราคาแพงกว่าน้ำมันดีเซลเชิงพาณิชมาก (48,428.62 บาท/ลิตร)
หัวเรื่อง
วิจัย
ไบโอดีเซล--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
34 หน้า
LDR
02460nam a2200205 4500
005
20160620113358.0
008
160620s2558 th tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a665.3‡bช15ก
100
0_
‡aชนิตา อ้นโตน
245
10
‡aการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร :‡bรายงานการวิจัย /‡cชนิตา อ้นโตน
246
31
‡aFeasibility Study of Biodiesel Production using Extracted Oil from Taonam Algae (Spirogyra sp.) at Kaeng yao, Chumphon Prouince
260
__
‡aสงขลา :‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2558
300
__
‡a34 หน้า
502
__
‡aจากวิกฤตการณ์ราคาน้ำมันในตลาดโลกที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ให้ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมถึงประชาชนทั่วไป รวมถึงการต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากในการนำเข้าน้ำมันดิบ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้ต้องมองหาแหล่งพลังงานใหม่มาทดแทนน้ำมันปิโตรเลียมงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากสาหร่ายเทานั้น (Spirogyra sp.) ในแก่งยาว ตำบลนาสัก อำเภอสวี จังหวัดชุมพร โดยศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันสาหร่ายด้วยกระบวนการต้มรีฟลักซ์ ด้วยตัวทำละลาย 2 ชนิด (เฮกเซน และปิโตรเลียมอีเทอร์) ที่อัตราส่วนของสาหร่ายแห้งต่อตัวทำละลาย 1:2, 1:3, 1:4, และ 1:5 ระยะเวลาในการสกัด 1, 3, 4 และ 5 ชั่วโมง และทดลองสอบปริมาณกรดไขมันอิสระของน้ำมันจากสาหร่าย ผลการศึกษาพบว่า ที่ระยะเวลาในการสกัดเท่ากับ 5 ชั่วโมง ที่อัตราส่วนระหว่างสาหร่ายต่อปิโตรเลียมอีเทอร์ 1:5 ให้ร้อยละประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันสาหร่าย (% yield of algae oil) สูงที่สุด คือ 3.37 รองลงมาคือ 1:4 (สาหร่ายต่อปิโตรเลยมอีเทอร์) ,1:5 (สาหร่ายต่อเฮกเซน) และ 1:4 (สาหร่ายต่อเฮกเซน) มีร้อยละประสิทธิภาพการผลิตนำมันสาหร่าย เท่ากับ 2.80, 2.08 และ 1.97 ตามลำดับ เมื่อนำค่าร้อยละละประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันสาหร่ายของตัวทำละลาย มาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติแบบ t-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่วนคุณภาพของน้ำมันสาหร่ายเท่าน้ำมีปริมาณกรดไขมันอิสระเท่ากับ ร้อยละ 16.70 0.011 ซึ่งสูงกว่าค่ามาตรฐาน (มาตรฐานของสถาบันวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนนำมันปาล์มและพืชนำมันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) สำหรับการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตเบื้องต้นของน้ำมันที่สกัดจากสาหร่ายเทาน้ำ (คิดที่ร้อยละประสิทธิภาพในการผลิตเป็นน้ำมันสูงสุด) เพื่อผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซล 1 ลิตร พบว่าไม่คุ้มทุน เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีปริมาณน้อย และราคาแพงกว่าน้ำมันดีเซลเชิงพาณิชมาก (48,428.62 บาท/ลิตร)
650
_7
‡aวิจัย
650
_7
‡aไบโอดีเซล--วิจัย
700
0_
‡aเบญจวรรณ ปานสกุล
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
182862
665.3 ช15ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ชนิตา อ้นโตน, และ เบญจวรรณ ปานสกุล. (2558).
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร :รายงานการวิจัย .
สงขลา :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ชนิตา อ้นโตน, และ เบญจวรรณ ปานสกุล.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร :รายงานการวิจัย .
สงขลา :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2558.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ชนิตา อ้นโตน, และ เบญจวรรณ ปานสกุล. 2558.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร :รายงานการวิจัย .
สงขลา :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ชนิตา อ้นโตน, และ เบญจวรรณ ปานสกุล. การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันสาหร่ายเทาน้ำในพื้นที่แก่งยาว จังหวัดชุมพร :รายงานการวิจัย . สงขลา :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา; 2558.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
244/247
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
10/31/2562
จำนวนการยืม
3
เปิดดู (ครั้ง)
77
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.