เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1138236    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแผ่นอัดจากใบสับปะรดโดยใช้กาวไอไซยาเนตเปรียบเทียบกับกาวลาเท็กซ์ : รายงานการวิจัย / นิวัฒน์ เกตุแก้ว
ชื่อเรื่องParticleboards From Pineapple Leaf Using Isocyanate Bimder Compared with a Latex Adhesive
Dewey Call #674.834 น37ผ
ผู้แต่งนิวัฒน์ เกตุแก้ว
หัวเรื่องใบสับปะรด--วิจัย
 ไม้อัด--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2558
ชื่อเรื่องแผ่นอัดจากใบสับปะรดโดยใช้กาวไอไซยาเนตเปรียบเทียบกับกาวลาเท็กซ์ : รายงานการวิจัย / นิวัฒน์ เกตุแก้ว
ชื่อเรื่องParticleboards From Pineapple Leaf Using Isocyanate Bimder Compared with a Latex Adhesive
Dewey Call #674.834 น37ผ
ผู้แต่งนิวัฒน์ เกตุแก้ว
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2558
หัวเรื่องใบสับปะรด--วิจัย
 ไม้อัด--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ32 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 01787nam a2200193 4500
005 20181214160513.0
008 160623s2558 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a674.834‡bน37ผ
1000_‡aนิวัฒน์ เกตุแก้ว
24510‡aแผ่นอัดจากใบสับปะรดโดยใช้กาวไอไซยาเนตเปรียบเทียบกับกาวลาเท็กซ์ :‡bรายงานการวิจัย /‡cนิวัฒน์ เกตุแก้ว
24631‡aParticleboards From Pineapple Leaf Using Isocyanate Bimder Compared with a Latex Adhesive
260__‡aสงขลา :‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2558
300__‡a32 หน้า : ‡bภาพประกอบ
5203_‡aงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแผ่นอัดจากใบสับปะรด โดยเปรียบเทียบวัสดุประสาน 2 ชนิด ได้แก่ การไอโซไซยาเนต (p-MDI) กับกาวลาเท็กซ์ โดยใช้ใบสับปะรดผสมกับวัสดุประสาน ในอัตราส่วน 95:5, 90: 10,85:15 และ 80:20 ขึ้นรูปด้วยเครื่องอัดเบ้าไอโดรลิคที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส อัดร้อน 15 นาที จากนั้นนำชิ้นงานไปอบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และได้ศึกษาสมบัติทางกายภาพของแผ่นอัดจากใบสับปะรดที่เตรียมไว้ ได้แก่ การดูดซึมน้ำ การพองตัวเมื่อแช่น้ำ การดัดโค้ง และได้ทำการวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางเศรษฐศาสตร์ด้วยจากการทดสอบสมบัติทางกายภาพ พบว่า เปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้ำและการพองตัวเมื่อแช่น้ำมีแนวโน้มลดลงเมื่อมีการเพิ่มวัสดุประสาน แต่เมื่อลดวัสดุประสาน ทำให้เปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้ำ และการพองตัวเมื่อแช่น้ำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยกาวลาเท็กซ์จะมีการดูดซึมน้ำและการพองตัวได้ดีกว่ากาว p-MDI ทุกอัตราส่วนส่วนการทดสอบความต้านทานต่อแรงดัดโค้ง พบว่า เมื่อเพิ่มปริมาณวัสดุประสาน ทำให้ค่าความต้านทานต่อแรงดันโค้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่เมื่อมีการลดวัสดุประสานทำให้ค่าความต้านทานต่อแรงดัดโค้งมีแนวโน้มลดลง โดยกาว p-MDI จะมีค่าความต้านทานต่อแรงดัดโค้งดีกว่ากาวลาเท็กซ์ทุกอัตราส่วน
650_7‡aใบสับปะรด‡xวิจัย
650_7‡aไม้อัด‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
183360674.834 น37ผวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด