เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1138739    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องความต้องการสารสนเทศและแนวการพัฒนาบริการสารสนเทศสู่ชุมชน สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ : รายงานการวิจัย / ขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
ชื่อเรื่องInformation needs and guidelines for development information services to the community of the thaksin University Library
Dewey Call #025.52 ข17ค
ผู้แต่งขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
หัวเรื่องห้องสมุดและบริการห้องสมุด
 บริการสารสนเทศ
 บริการสารสนเทศ--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2556
ชื่อเรื่องความต้องการสารสนเทศและแนวการพัฒนาบริการสารสนเทศสู่ชุมชน สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ : รายงานการวิจัย / ขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
ชื่อเรื่องInformation needs and guidelines for development information services to the community of the thaksin University Library
Dewey Call #025.52 ข17ค
ผู้แต่งขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
พิมพลักษณ์สงขลา : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2556
หัวเรื่องห้องสมุดและบริการห้องสมุด
 บริการสารสนเทศ
 บริการสารสนเทศ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ72 หน้า
LDR 02517nam a2200205 4500
005 20161012141051.0
008 161012s2556 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a025.52‡bข17ค
1000_‡aขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
24510‡aความต้องการสารสนเทศและแนวการพัฒนาบริการสารสนเทศสู่ชุมชน สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ :‡bรายงานการวิจัย /‡cขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ
24631‡aInformation needs and guidelines for development information services to the community of the thaksin University Library
260__‡aสงขลา :‡bสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ,‡c2556
300__‡a72 หน้า
5203_‡aการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการอ่าน การใช้ห้องสมุดของชุมชน 2) รวบรวมข้อมูลแนะต่อการจัดบริการของสำนักหอสมุด 3) กำหนดแนวพัฒนาบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณให้ชุมชนเข้าถึงมากขึ้น รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มตามความสะดวกจากประชาชนในพื้นที่อำเภอเมืองสงขลา และอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดต่ออีก 4 อำเภอๆ ละ 90 คน รวมทั้งสิ้น 450 คน ด้วยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า สถานภาพการศึกษา ด้านหน้าที่การงานมีผลต่อการอ่าน การใช้ข้อมูลสารสนเทศและการใช้ห้องสมุด โดยนักเรียน นิสิต นักศึกษาและครูอาจารย์อ่านหนังสือมาก (มากกว่า 5 เล่มต่อปี) ความถี่ในการใช้ห้องสมุดสูง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจอ่านหนังสือระดับกลางๆ (3-5 เล่มต่อปี) เข้าห้องสมุดเป็นอันดับรองลงมา ส่วนประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังอ่านหนังสือน้อย (น้อยกว่า 2 เล่มต่อปี) บริการของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณประชาชนส่วนใหญ่ไม่ทราบข้อมูลการบริการ มีอาจารย์ ข้าราชการพนักงานรัฐวิสาหกิจเข้ามาเกี่ยวข้องและใช้บริการบ้างเพียงส่วนน้อย ศิษย์เก่าเคยใช้บริการทุกคน สมัยที่เป็นนิสิต แต่เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็ไม่เข้าใช้บริการเช่นกัน ประชาชนส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะเข้าถึงสารสนเทศผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น สวนการพัฒนาการบริการสารสนเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยให้ชุมชนเข้าถึงได้มากขึ้นจำเป็นต้องพัฒนาการบริการผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยเอกสารเต็มรูป (Full Text) ให้มากเพื่อเข้าถึงจากภายนอกได้สะดวก มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมบริการหลายช่องทาง ตั้งเครือข่ายชมรมนักอ่านในชุมชนเป็นสมาชิกพิเศษจะช่วยประชาสัมพันธ์สื่อความประสงค์ลดช่องว่างให้ชุมชนเข้าถึงพึ่งได้ จัดการสภาพแวดล้อมให้ร่มรื่น มีสิ่งอำนวยความสะดวกเอื้อต่อผู้พิการ มีอาหารเครื่องดื่ม มีกิจกรรมบันเทิงสำหรับพักผ่อน จำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียนเพื่อความสะดวก จะช่วยให้การบริการมีประสิทธิภาพเข้าถึงชุมชนมากขึ้น
650_7‡aห้องสมุดและบริการห้องสมุด
650_7‡aบริการสารสนเทศ
650_7‡aบริการสารสนเทศ--วิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
188609025.52 ข17ควิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด