เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1138771    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ : รายงานการวิจัย / ศศิธร วิศพันธุ์
ชื่อเรื่องProduct development of Ko-yo hand woven bag using quilt technique
Dewey Call #745.5 ศ18ก
ผู้แต่งศศิธร วิศพันธุ์
หัวเรื่องหัตถกรรม
 ผ้าทอเกาะยอ--วิจัย
 กระเป๋า--การออกแบบ
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1205
ชื่อเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ : รายงานการวิจัย / ศศิธร วิศพันธุ์
ชื่อเรื่องProduct development of Ko-yo hand woven bag using quilt technique
Dewey Call #745.5 ศ18ก
ผู้แต่งศศิธร วิศพันธุ์
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
เนื้อหาการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- งานควิลท์ -- ผ้าทอเกาะยอ
หัวเรื่องหัตถกรรม
 ผ้าทอเกาะยอ--วิจัย
 กระเป๋า--การออกแบบ
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1205
ลักษณะทางกายภาพ92 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02887nam a2200229 4500
005 20250312184118.0
008 161018s2557 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a745.5‡bศ18ก
1000_‡aศศิธร วิศพันธุ์
24510‡aการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ :‡bรายงานการวิจัย /‡cศศิธร วิศพันธุ์
24631‡aProduct development of Ko-yo hand woven bag using quilt technique
260__‡aสงขลา :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2557
300__‡a92 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- งานควิลท์ -- ผ้าทอเกาะยอ
5203_‡aการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ ศึกษาความพึงพอใจผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าทอเกาะยอให้กับกลุ่มทอร่มไทร ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ขั้นตอนดำเนินการวิจัยประกอบด้วยขั้นตอนแรก คือ การศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่สอง คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ เป็นการกำหนดแนวคิดและขอบเขตในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นตอนที่สาม คือการออกแบบ โดยร่างแบบตามแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกแบบและพัฒนากระเป๋าผ้าทอเกาะยอที่มีความทันสมัย สวยงาม และมีเอกลักษณ์ ซึ่งเริ่มจากการออกแบบลวดลายก่อนแล้วจึงออกแบบร่างผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอ จำนวน 10 แบบ ขั้นตอนที่สี่ คือ การคัดเลือกแบบ นำแบบร่างผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอให้กลุ่มผ้าทอร่มไทรคัดเลือกรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม จำนวน 3 แบบขั้นตอนที่ห้า คือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และขั้นตอนสุดท้าย คือ การประเมินผล โดยนำผลิตภัณฑ์ต้นแบบจำนวน 3 รูปแบบ มาศึกษาความพึงพอใจจากสมาชิกกลุ่มทอผ้าร่มไทร จำนวน 5 คน และผู้สนใจผลิตภัณฑ์จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถามความพึงพอใจผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความพึงพอใจผลิตภัณฑ์กะรเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ รูปแบบที่ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เป็นลำดับที่ 1 โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.47 กล่าวคือ ด้านรูปทรง มีความเป็นเอกลักษณ์และยังคงคุณค่าของผ้าทอเกาะยอ มีความคงทนแข็งแรง ด้านประโยชน์ใช้สอย มีความสะดวกในการหยิบหรือใส่สิ่งของและด้านกลุ่มเป้าหมายทางการตลาด มีความเป็นไปได้ในการผลิตจริง และสมาชิกกลุ่มผ้าร่มไทร ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเกาะยอโดยใช้เทคนิคควิลท์ รูปแบบที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เป็นลำดับที่ 1 โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 กล่าวคือ ด้านรูปทรง มีความเป็นเอกลักษณ์และยังคงคุณค่าของผ้าทอเกาะยอ มีความประณีตสวยงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย มีความสะดวกในการหยิบหรือใช้สิ่งของ ป้องกันการเกิดความเสียหายของสิ่งของได้ ใส่สิ่งของได้ปริมาณมาก และด้านกลุ่มเป้าหมายทางการตลาด มีความเป็นไปได้ในการผลิตจริง และมีความเหมาะสมกับรสนิยมของกลุ่มสตรีวัยทำงาน
650_7‡aหัตถกรรม
650_7‡aผ้าทอเกาะยอ‡xวิจัย
650_7‡aกระเป๋า‡xการออกแบบ
850__‡aSKRU
8564_‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1205
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
188616745.5 ศ18กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
188617745.5 ศ18กผลงานอาจารย์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 4   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด