ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1138783
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย / พีรพงษ์ พันธะศรี
ชื่อเรื่อง
Creative Pottery Case Study of Pottery with Havena Wood and Liana Plant in Songkhla Province
Dewey Call #
738.3 พ37ค
ผู้แต่ง
พีรพงษ์ พันธะศรี
หัวเรื่อง
เครื่องปั้นดินเผา--วิจัย
เครื่องปั้นดินเผา
พิมพลักษณ์
สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
เชื่อมโยง
https://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1178
ชื่อเรื่อง
เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย / พีรพงษ์ พันธะศรี
ชื่อเรื่อง
Creative Pottery Case Study of Pottery with Havena Wood and Liana Plant in Songkhla Province
Dewey Call #
738.3 พ37ค
ผู้แต่ง
พีรพงษ์ พันธะศรี
พิมพลักษณ์
สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
เนื้อหา
การศึกษาและสำรวจข้อมูลเครื่องปั้นดินเผา เพื่อใช้ในการผลิตภัณฑ์ -- การศึกษาและสำรวจข้อมูลเถาวัลย์ -- การศึกษาและสำรวจข้อมูลไม้ยางพารา -- การศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ -- ประโยชน์ใช้สอยกับการออกแบบประติมากรรมประยุกต์ -- ประเภทของการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- หลักคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย -- อัตลักษณ์ท้องถิ่นกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย -- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องปั้นดินเผา
หัวเรื่อง
เครื่องปั้นดินเผา--วิจัย
เครื่องปั้นดินเผา
เชื่อมโยง
https://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1178
ลักษณะทางกายภาพ
110 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
03846nam a2200217 4500
005
20250312184226.0
008
161020s2557 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a738.3‡bพ37ค
100
0_
‡aพีรพงษ์ พันธะศรี
245
10
‡aเครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา :‡bรายงานการวิจัย /‡cพีรพงษ์ พันธะศรี
246
31
‡aCreative Pottery Case Study of Pottery with Havena Wood and Liana Plant in Songkhla Province
260
__
‡aสงขลา :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2557
300
__
‡a110 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aการศึกษาและสำรวจข้อมูลเครื่องปั้นดินเผา เพื่อใช้ในการผลิตภัณฑ์ -- การศึกษาและสำรวจข้อมูลเถาวัลย์ -- การศึกษาและสำรวจข้อมูลไม้ยางพารา -- การศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ -- ประโยชน์ใช้สอยกับการออกแบบประติมากรรมประยุกต์ -- ประเภทของการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- หลักคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย -- อัตลักษณ์ท้องถิ่นกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย -- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องปั้นดินเผา
520
3_
‡aในภาคใต้ของประเทศไทยมีการผลิตเครื่องปั้นดินเผาอยู่หลายแห่ง จังหวัดสงขลาเองก็มีชุมชนที่มีชื่อเสียงในด้านเครื่องปั้นดินเผาพื้นเมือง คือชุมชนบ้านสทิงหม้อ แต่ในปัจจุบันพบว่าผู้ประกอบการมีจำนวนลดน้อยลงซึ่งส่งผลให้เครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้านรวมถึงเทคนิควิธีการผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่ไดสร้างสมสืบต่อกันมาจนเกิดเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ในเรื่องของการใช้วัสดุของท้องถิ่น ในที่นี้ก็คือดินอาจสูญหายได้ ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้านโดยมีหลักคิดคือการต่อยอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัยไว้ 4 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบเครื่องปั้นดินเผาในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงกระบวนการผลิตของชาวสทิงหม้อ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำถิ่น 2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม 3) เพื่อพัฒนาดินและศึกษารูปแบบ แนวคิด เทคนิค วิธีการ ในการทำเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์โดยต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 4) เพื่อสร้างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ตามกรอบการศึกษาวัสดุและกระบวนการผลิตเครื่องปั้นดินเผาและสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในท้องถิ่น โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง คือ กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาหมู่บ้านสทิงหม้อ หมู่ที่ 4 ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จำนวน 1 คน กลุ่มผู้ประกอบการที่ขายสินค้าประเภทเครื่องปั้นดินเผา ในอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 5 ร้านค้า และกลุ่มนักศึกษาหลักสูตรออกแบบ ชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาออกแบบเครื่องปั้นดินเผา รายวิชาวัสดุและกรรมวิธี และรายวิชาออกแบบของที่ระลึก จำนวน 42 คน จากการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ลักษณะทางกายภาพของพืชประเภทเครือเถาที่มีในท้องถิ่นมีคุณค่าความงามในหลายด้าน เช่น พื้นผิว ลีลา หรือเส้น และการบิดพัน นอกจากนี้ ยังพบว่าเครือเถาวัลย์ได้เข้ามามีบทบาทในงานศิลปะประเภทสถาปัตยกรรม และศิลปประยุกต์ ส่วนการศึกษาไม้ยางพาราในท้องถิ่นพบว่า มีการนำไม้ยางพารามาใช้งานอย่างแพร่หลาย แต่ผู้วิจัยเลือกใช้ไม้ยางพาราที่ผ่านการใช้งานแล้ว เช่น ไม่พาเลท เนื่องจากมีราคาถูกและหาได้ง่ายในท้องถิ่นและในส่วนของแรงบันดาลใจในการออกแบบผู้วิจัยได้ออกแบบโดยมีที่มาจากสองแหล่ง คือ แรงบันดาลใจจากธรรมชาติ เช่น พืชและสัตว์ในท้องถิ่นและแรงบันดาลจากรูปทรงผลิตภัณฑ์แบบดั้งเดิมของชาวสทิงหม้อมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในครั้งนี้ ผลสรุปจากการพัฒนาดินให้สอดคล้องกับเทคนิคการเผาของผู้วิจัยในโครงการวิจัยเรื่องเครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลาผู้วิจัยสามารถสรุปได้ว่า ดินที่ผสมตามสัดส่วน ดินพื้นบ้าน ดินเชื้อ ในอัตราส่วน 70 30 สามารถคงรูปได้เมื่อนำไปเผาแล้วทนความร้อน ไม่แตกหัก สามารถขึ้นรูปทรงที่ซับซ้อนได้และใช้งานได้จริง กรรมวิธีการผลิตสามารถผลิตได้โดยช่างพื้นบ้าน นำไปต่อยอดเพื่อการผลิต และจำหน่ายได้
650
_7
‡aเครื่องปั้นดินเผา‡xวิจัย
650
_7
‡aเครื่องปั้นดินเผา
850
__
‡aSKRU
856
4_
‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1178
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
189118
738.3 พ37ค
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
189120
738.3 พ37ค
ผลงานอาจารย์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 4
อยู่บนชั้น
189119
738.3 พ37ค ฉ.2
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
พีรพงษ์ พันธะศรี. (2557).
เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
พีรพงษ์ พันธะศรี.
เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
พีรพงษ์ พันธะศรี. 2557.
เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
พีรพงษ์ พันธะศรี. เครื่องปั้นดินเผาสร้างสรรค์ กรณีศึกษาเครื่องปั้นดินเผาประกอบไม้ยางพาราและเถาวัลย์ในจังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย . สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา; 2557.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
103
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.