เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1139587    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการศึกษาสาระในภาพระบายสีเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : รายงานการวิจัยเรื่อง / ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
Dewey Call #743.9 ช116ก
ผู้แต่งชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
หัวเรื่องภาพวาดเส้น
 วัฒนธรรมไทย--ภาพ
พิมพลักษณ์ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2558
ชื่อเรื่องการศึกษาสาระในภาพระบายสีเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : รายงานการวิจัยเรื่อง / ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
Dewey Call #743.9 ช116ก
ผู้แต่งชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
พิมพลักษณ์ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2558
เนื้อหาการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษา -- การวาดภาพระบายสี -- วัฒนธรรมไทยการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา
หัวเรื่องภาพวาดเส้น
 วัฒนธรรมไทย--ภาพ
ลักษณะทางกายภาพ165 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 02803nam a2200193 4500
005 20170628111705.0
008 170222s2558 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a743.9‡bช116ก
1000_‡aชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
24510‡aการศึกษาสาระในภาพระบายสีเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :‡bรายงานการวิจัยเรื่อง /‡cชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์
260__‡aปัตตานี :‡bมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2558
300__‡a165 หน้า : ‡bภาพประกอบ
5050_‡aการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษา -- การวาดภาพระบายสี -- วัฒนธรรมไทยการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา
5203_‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาระในภาพระบายสี เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยของนักเรียนระดับมัธยมตอนต้น ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยแบ่งออกเป็น 8 ด้าน ดังนี้ 1.ชาติ 2. ศาสนา 3. การเมืองการปกครอง 4. ประเพณี 5. ปัจจัยในการดำรงชีวิต 6. ศิลปกรรม 7. จรรยามารยาท และ 8. การละเล่น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ประจำปีการศึกษา 2558 จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบทดสอบการวาดภาพระบายสี 2. แบบสอบถามเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี และ 3. แบบวิเคราะห์ภาพ วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าความถี่และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า สาระในด้านประเพณีมากที่สุด (ร้อยละ 36.67) รองลงมาตามลำดับ ได้แก่ ด้านจรรยามารยาท (ร้อยละ 18.89) ด้านการละเล่น (ร้อยละ 14.44) ด้านศาสนา (ร้อยละ 12.22) ด้านศิลปกรรม (ร้อยละ 8.33) ด้านชาติ (ร้อยละ 6.67) ด้านปัจจัยในการดำรงชีวิต (ร้อยละ 2.78) และไม่ปรากฏด้านการเมืองการปกครอง สาระเรื่องราวในภาพที่พบมากที่สุด คือ เรื่องราวมทางด้านประเพณี ประกอบไปด้วยประเพณีลอยกระทงมากที่สุด (ร้อยละ 48.48) รองลงมาตามลำดับ ได้แก่ สงกรานต์ (ร้อยละ 31.39) การแข่งเรือ (ร้อยละ 6.06) น้อยที่สุด ได้แก่ การกวนอาซูรอ การทำบุญสลาก ผีตาโขน และการชัดพระ มีจำนวนเท่ากัน (ร้อยละ 0.74) รายละเอียดของสิ่งที่ปรากฏในภาพมากที่สุด คือด้านประเพณี (ร้อยละ 25.69) ซึ่งแสดงถึงรายละเอียดเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทงมากที่สุด รายละเอียดที่ปรากฏ ได้แก่ ภาพกระทงลอยในน้ำ การสวมชุดไทย พระจันทร์เต็มดวง คนลอยกระทง ท่าน้ำ โคมลอย การคุกเข่าอธิษฐานขอพร เวทีประกวดนางนพมาศและพลุตามลำดับ รองลงมาได้แก่รายละเอียดเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ ได้แก่ การสาดน้ำด้วยขัน การสวมเสื้อลายดอก การก่อเจดีย์ทราย และการรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ตามลำดับ ส่วนที่พบน้อย ได้แก่ ประเพณีแข่งเรือ ประเพณีกวนอาซูรอ ประเพณีการทำบุญสลาก ประเพณีผีตาโขน และประเพณีชัดพระ ในด้านความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี พบว่ากิจกรรมทางศิลปศึกษาที่นักเรียนชอบมากที่สุด ได้แก่ กิจกรรมการวาดภาพระบายสี (ร้อยละ 70.00) สำหรับการวาดภาพเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย นักเรียนต้องมีแบบบ้างเพื่อใช้เป็นข้อมูล (ร้อยละ 72.22) นักเรียนรู้สึกชอบถ้าในวิชาศิลปศึกษา ครูนำเอาเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทยมาให้ฝึกปฏฺบัติเสมอ (ร้อยละ 91.11)
650_7‡aภาพวาดเส้น
650_7‡aวัฒนธรรมไทย‡xภาพ
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
189839743.9 ช116กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด