เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1139980    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง / พัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
ชื่อเรื่องThe food security of the elderly in rural communities, Phatthalung Province
Dewey Call #305.26 พ53ค 2557
ผู้แต่งพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา--วิทยานิพนธ์
 ผู้สูงอายุ--วิจัย
 ความมั่นคงทางอาหาร--วิจัย
ชื่อเรื่องความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง / พัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
ชื่อเรื่องThe food security of the elderly in rural communities, Phatthalung Province
Dewey Call #305.26 พ53ค 2557
ผู้แต่งพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
เนื้อหาข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดพัทลุง -- แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ -- ความมั่นคงทางอาหาร -- ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางด้านสังคม (social support) -- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน)) --มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา--วิทยานิพนธ์
 ผู้สูงอายุ--วิจัย
 ความมั่นคงทางอาหาร--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ(1-7), 100 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 02360nam a2200217 4500
005 20170718175032.0
008 170328s2557 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a305.26‡bพ53ค 2557
1000_‡aพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
24510‡aความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง /‡cพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
246__‡aThe food security of the elderly in rural communities, Phatthalung Province
300__‡a(1-7), 100 หน้า : ‡bภาพประกอบ
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน)) --มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2557
5050_‡aข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดพัทลุง -- แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ -- ความมั่นคงทางอาหาร -- ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางด้านสังคม (social support) -- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
520__‡aการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง จากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตชุมชนชนบทของจังหวัดพัทลุงจำนวน 397 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และ สถิติ สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษา พบว่า ระดับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนชนบท จังหวัดพัทลุง มีระดับความมั่นคงทางอาหารน้อย 1. ด้านการมีอาหารเพียงพอ อยู่ในระดับน้อย ผู้สูงอายุเคยอดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่งเนื่องจากมีอาหารไม่เพียงพอ ด้านการเข้าถึงอาหาร ผู้สูงอายุไม่สามารถซื้ออาหารจากร้านค้าหรือรถขายเร่ ที่อยู่ในชุมชนได้อย่างสะดวก ด้านการใช้ประโยชน์จากอาหาร ผู้สูงอายุไม่ได้รับประทานอาหารเสริมที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และด้านการมีเสถียรภาพด้านอาหาร ในแต่ละวันผู้สูงอายุใช้จ่ายเงินเพื่อเป็นค่าอาหารน้อยกว่าค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านครอบครัว กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุ พบว่า การศึกษา รายได้ของผู้สูงอายุ อาหารที่รับประทาน โรคประจำตัว (ไขมันในเลือดสูง) จำนวนสมาชิกในครอบครัว ผู้ดูแลค่าใช้จ่ายในครอบครัว ลักษณะการรับประทานอาหาร มีความ สัมพันธ์กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงสนับสนุนทางสังคมกับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุ พบว่า แรงสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงทางอาหารของผู้สูงอายุ
610_7‡aมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา‡xวิทยานิพนธ์
650_7‡aผู้สูงอายุ‡xวิจัย
650_7‡aความมั่นคงทางอาหาร‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
190247305.26 พ53ค 2557วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
190248305.26 พ53ค 2557 ฉ.2วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด