เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1140226    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาการให้บริการรถรางนำชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา / ภูษณิสา ด้วงตน
Dewey Call #338.4791 ภ418น 2557
ผู้แต่งภูษณิสา ด้วงตน
หัวเรื่องรถราง--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--สงขลา--วิจัย
 สงขลา--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
พิมพลักษณ์2557
ชื่อเรื่องแนวทางการพัฒนาการให้บริการรถรางนำชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา / ภูษณิสา ด้วงตน
Dewey Call #338.4791 ภ418น 2557
ผู้แต่งภูษณิสา ด้วงตน
พิมพลักษณ์2557
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2557
หัวเรื่องรถราง--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--สงขลา--วิจัย
 สงขลา--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-17], 207 แผ่น
LDR 03241nam a2200205 4500
005 20230519141730.0
008 170602s2557 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bภ418น 2557
1000_‡aภูษณิสา ด้วงตน
24510‡aแนวทางการพัฒนาการให้บริการรถรางนำชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา /‡cภูษณิสา ด้วงตน
260__‡a2557
300__‡a[1-17], 207 แผ่น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2557
520__‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการดําเนินงานการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาล นครสงขลาจังหวัดสงขลา และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย 2 แบบ ได้แก่1) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจากวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคล และการสนทนากลุ่ม ซึ่ งผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา จํานวน 5 คน และ 2) การวิจัยเชิงปริมาณ โดย การสํารวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอยางคือ นักท่องเที่ยวชาวไทย จํานวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง จํานวน 2 ฉบับ และเป็นแบบสอบถาม 1 ฉบับ จํานวน 40 ข้อ มีค่าความเชื่อมันทั้งฉบับ .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูปสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่า t-testการทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบรายคู่ตามวิธีการของเชฟเฟ่ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษารูปแบบการดําเนินงานการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา มีรูปแบบการดําเนินงานการให้บริการรถรางโดยยึดหลักการดําเนินงานตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 7Ps 2) การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา นักท่องเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการให้บริการรถรางอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามค่าเฉลี่ย จากมากที่สุดลงมาหาน้อยสุดได้แก่ ด้านบุคลากรการให้บริการ รองลงมาด้านสถานที่การให้บริการด้านผลิตภัณฑ์การให้บริการ ด้านราคาการให้บริ การ ด้านกระบวนการให้บริ การและด้านประชาสัมพันธ์การให้บริการ ส่วนการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการให้บริ การรถรางจําแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ พบวา นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และสถานภาพต่างกนมีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05และนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีเพศต่างกนมีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการพัฒนาการให้บริการรถรางนําชมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา (1) การจัดทําป้ายประชาสัมพันธ์รถรางชมเมืองเล่าเรื่องสงขลา(2) การปรับปรุงการจราจรเส้นทางการให้บริการรถรางเป็นระเบียบ ภูมิทัศน์สวยงาม (3) การให้บริการรถรางมีจุดจอดแวะชมบรรยากาศ ชมสินค้าเอกลักษณ์เมืองสงขลา (4) การให้บริการจุดขึ้นรถรางเพิ่มขึ้น(5) การจัดอบรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และมัคคุเทศก์(6) การจัดศึกษาดูงาน อบรมมัคคุเทศก์เชี่ยวชาญเฉพาะทางท้องถิ่น และ (7) มีการสํารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการรถรางอยางสมํ่าเสมอ
650_7‡aรถราง‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡zสงขลา‡xวิจัย
651_7‡aสงขลา‡xภูมิประเทศและการท่องเที่ยว‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
190395338.4791 ภ418น 2557วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
190396338.4791 ภ418น 2557 ฉ.2วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด