เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1140599    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องโครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ศริยา บิลแสละ, นินาวาลย์ ปานากาเซ็ง, มูฮัสซัล บิลแสละ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21
Dewey Call #371.3 ศ17ค 2559
ผู้แต่งศริยา บิลแสละ
ผู้แต่งเพิ่มเติมนินาวาลย์ ปานากาเซ็ง
 มูอัสซัล บิลแสละ
หัวเรื่องการสอนแบบบูรณาการ--วิจัย
 ครู--บทบาท--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2559
ชื่อเรื่องโครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ศริยา บิลแสละ, นินาวาลย์ ปานากาเซ็ง, มูฮัสซัล บิลแสละ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21
Dewey Call #371.3 ศ17ค 2559
ผู้แต่งศริยา บิลแสละ
ผู้แต่งเพิ่มเติมนินาวาลย์ ปานากาเซ็ง
 มูอัสซัล บิลแสละ
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2559
เนื้อหาโรงเรียนคุณภาพ -- ครูคุณภาพ -- ผู้เรียนคุณภาพ -- ทฤษฎีการเรียนรู้ก่อนศตวรรษที่ 21 -- การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 -- เทคโนโลยีสารสนเทศกับกระบวนการทัศน์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 2
หัวเรื่องการสอนแบบบูรณาการ--วิจัย
 ครู--บทบาท--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-13] : 417 แผ่น
LDR 04329nam a2200241 4500
005 20170824160928.0
008 170807s2559 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a371.3‡bศ17ค 2559
1000_‡aศริยา บิลแสละ
24510‡aโครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21 :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cศริยา บิลแสละ, นินาวาลย์ ปานากาเซ็ง, มูฮัสซัล บิลแสละ
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการกระบวรการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,‡c2559
300__‡a[1-13] : ‡b417 แผ่น
504__‡aบรรณานุกรม: หน้า 145-147
5050_‡aโรงเรียนคุณภาพ -- ครูคุณภาพ -- ผู้เรียนคุณภาพ -- ทฤษฎีการเรียนรู้ก่อนศตวรรษที่ 21 -- การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 -- เทคโนโลยีสารสนเทศกับกระบวนการทัศน์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 2
5203_‡aพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ส่งผลให้โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานควบคู่กับหลักสูตรอิสลามศึกษาได้รับความนิยมเป็นอย่างมากปัจจุบันมีโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 172 โรง อย่างไรก็ตาม โรงเรียนเหล่านี้ยังประสบปัญหาการจัดการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในหลายประการ ได้แก่ คุณภาพการศึกษาที่ไม่ได้มาตรฐาน ผลการสอบ NT ONET INET ที่อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัญหาคุณธรรมจริยธรรมที่ลดลง เด็กและเยาวชนขาดทักษะชีวิต และปัญหาเด็กออกกลางคัน ฯลฯ (สำนักงานความร่วมมือทางวิชาการเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2551) สภาพการณ์ปัญหาดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่า จำเป็นต้องมีการปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาของฌโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้เข้ากับความต้องการของผู้เรียนและชุมชนที่สามารถรองรับต่อการพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังนั้น โครงการวิจัย "กระบวนการพัฒนาครูผ่านนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในศตวรรษที่ 21" ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนดแนวทางการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบและพัฒนานวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการพัฒนาครูที่สอดคล้องกับสภาวะการณ์ (SWOT ANALYSIS) ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบหรือกระบวนการพัฒนาครูให้สามารถพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในยุคศตวรรณที่ 21 และสามารถจัดการชั้นเรียนให้เหมาะสมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 3. เพื่อพัฒนานวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยขอบเขตงานวิจัยจะเน้นที่กระบวนการพัฒนาครูให้สามารถพัฒนานวตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดเวลาโดยสามารถพัฒนานวตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดเวลาโดยสามารถบูรณาการ ICT เพื่อการออกแบบและพัฒนานวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนที่ทันสมัยตรงกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการออกแบบกระบวนการวิจัยจะเน้นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participation and action research) โดยให้ครูเข้ามามีบทบาทในการดำเนินการวิจัยร่วมกับคณะวิจัย และใช้ Project-baxed learning using ICT as tool เป็นตัวขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอน ผลลัพธ์ทีได้จากงานวิจัยครั้งนี้คือรูปแบบหรือกระบวนการพัฒนาครูให้สามารถพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 และสามารถจัดการชั้นเรียนให้เหมาะสมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 นั่นคือ CHANGE Model ซึ่งเป็นโมเดลสำหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูเพื่อให้ครูเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ครูที่พึงประสงค์ (SMART & SOCIAL Teacher) ตรงกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โมเดลดังกล่าวยังได้นำเสนอนวตกรรมรูปแบบการเรียนการสอนที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในยุคศตวรรษ 21 นั่นคือ 4P-2F Process และผลลัพธ์ที่ได้กับผู้เรียนคือ 1) ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ สนุกสนานกับการเรียนแบบ Project-Based Learning และบูรณาการ ICT กับการเรียน 2) ผู้เรียนสามารถต่อยอดความรู้ได้ด้วยตัวเองและมีทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น
650_7‡aการสอนแบบบูรณาการ--วิจัย
650_7‡aครู--บทบาท--วิจัย
7000_‡aนินาวาลย์ ปานากาเซ็ง
7000_‡aมูอัสซัล บิลแสละ
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
191125371.3 ศ17ค 2559วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด