ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1140908
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) : รายงานการวิจัย / ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร และกุลยา ก่อสุวรรณ
ชื่อเรื่อง
The Development of the Screening Tool For Infants and Toddlers (4-24 months) Who Are at Risk for Autism Spectrum Disorders (Parent Form)
รายงานการวิจัย การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง)
Dewey Call #
371.9 ณ114ก
ผู้แต่ง
ณัฐรินทร์ แซ่จุง
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ยุวดี วิริยางกูร
กุลยา ก่อสุวรรณ
หัวเรื่อง
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก--การศึกษา--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2560
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) : รายงานการวิจัย / ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร และกุลยา ก่อสุวรรณ
ชื่อเรื่อง
The Development of the Screening Tool For Infants and Toddlers (4-24 months) Who Are at Risk for Autism Spectrum Disorders (Parent Form)
รายงานการวิจัย การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง)
Dewey Call #
371.9 ณ114ก
ผู้แต่ง
ณัฐรินทร์ แซ่จุง
ผู้แต่งเพิ่มเติม
ยุวดี วิริยางกูร
กุลยา ก่อสุวรรณ
พิมพลักษณ์
สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2560
เนื้อหา
กลุ่มอาการออทิสติก -- พัฒนาการเด็ก -- ทารกและเด็กเล็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การช่วยเหลือทารกและเด็กเล็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การคัดกรองทารกและเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การวิจัยทารกและเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การสร้างแบบคัดกรองกลุ่มอาการออทิสติกสำหรับผู้ปกครอง -- การทำงานกับผู้ปกครอง
หัวเรื่อง
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก--การศึกษา--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
288 แผ่น
LDR
04558nam a2200253 4500
005
20180207143819.0
008
180207s2560 th tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a371.9‡bณ114ก
100
0_
‡aณัฐรินทร์ แซ่จุง
245
10
‡aการพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) :‡bรายงานการวิจัย /‡cณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร และกุลยา ก่อสุวรรณ
246
31
‡aThe Development of the Screening Tool For Infants and Toddlers (4-24 months) Who Are at Risk for Autism Spectrum Disorders (Parent Form)
246
30
‡aรายงานการวิจัย การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง)
260
__
‡aสงขลา :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2560
300
__
‡a288 แผ่น
504
__
‡aบรรณานุกรม: หน้า 257-267
505
0_
‡aกลุ่มอาการออทิสติก -- พัฒนาการเด็ก -- ทารกและเด็กเล็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การช่วยเหลือทารกและเด็กเล็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การคัดกรองทารกและเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การวิจัยทารกและเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติก -- การสร้างแบบคัดกรองกลุ่มอาการออทิสติกสำหรับผู้ปกครอง -- การทำงานกับผู้ปกครอง
520
3_
‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4-24 เดือน ที่ผู้ปกครองซึ่งไม่มีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับกลุ่มอาการออทิสติกสามารถใช้งานได้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองของทารกและเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 4-24 เดือน ที่เข้ารับการตรวจพัฒนาการที่โรงพยาบาลหาดใหญ่และโรงพยาบาลสงขลาในเดือนมิถุนายน 2557- ธันวาคม 2559 จำนวน 1,024 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตามความสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือในการวิจัยนี้ประกอบด้วย แบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 6 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) แบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 9 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) แบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 12 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) แบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 18 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) และแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การคำนวณค่าความถี่และร้อยละ ค่าความเชื่อมั่น ค่าความไว ค่าความจำเพาะ ค่าทำนายผลบวก และค่าทำนายผลลบ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.คณะผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมเด็กขณะผู้ปกครองกรอกข้อมูล พบว่า เด็ก 49 คน จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1,024 คน (คิดเป็นร้อยละ 4.8) มีอาการของภาวะออทิสติก และเห็นอาการของภาวะออทิสติกในเด็กอายุ 24 เดือน มากที่สุด คือ 18 คน (ร้อยละ 16.8 ของเด็กอายุ 24 เดือนทั้งหมด) 2.ค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) มีตั้งแต่ -.011 ถึง .571 3.ค่าความไวและการทำนายผลบวกค่อนข้างดี แต่ค่าความจำเพาะและการทำนายผลลบนั้นค่อนข้างต่ำ 4.ในแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) และ แบบคัดกรองสำหรับเด็กที่เสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 6 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) ข้อคำถามส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกับผลการประเมินอย่างละเอียดค่อนข้างต่ำหรือไม่สอดคล้องเลย 5.ในแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 9 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) ข้อคำถามส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับผลการประเมินอย่างละเอียด ยกเว้น "ข้อ 13 กรีดร้องโดยไม่มีเหตุผล" เด็กทุกคนที่ผู้ปกครองตอบว่ากรีดร้องอย่างไม่มีเหตุผลเป็นประจำและเข้ารับการประเมินนั้นมีอาการของภาวะออทิสติก 6.ในแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 12 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) เด็กทุกคนที่เข้ารับการประเมินอย่างละเอียดและผู้ปกครองตอบว่าจับมือผู้ใหญ่ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่ทำเองเป็นประจำ และเด็กที่ร้องไห้ หันหน้าหนี ไม่ยอมให้คุนเคยอุ้มเป็นประจำนั้นมีอาการของภาวะออทิสติก 7.ในแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 18 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) เด็กที่มีผู้ปกครองตอบว่าเล่นของซ้ำๆ เป็นประจำ เด็กที่ดึงมือพ่อแม่ไปที่สิ่งของโดยไม่บอกความต้องการเป็นประจำหรือบางครั้ง เด็กที่ร้องไห้ หันหน้าหนี ไม่ยอมให้คนคุ้นเคยอุ้มเป็นประจำหรือเป็นบางครั้ง เด็กที่มีปัญหาด้านการนอนเป็นประจำหรือเป็นบางครั้ง เด็กที่เดินเขย่งปลายเท้าเป็นบางครั้ง และเด็กที่กรีดร้องเมื่อถูกขัดใจเป็นประจำหรือบางครั้งทุกคนที่ผู้ปกครองพาเข้ารับการประเมินนั้นมีอาการของภาวะออทิสติก 8.ในแบบคัดกรองสำหรับเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) เด็กที่ผู้ปกครองเห็นว่ายิ้ม มองหน้า รู้จักชื่อตนเองทำตามคำสั่งง่ายๆ พูดประโยคง่ายๆ ก็มีอาการของภาวะออทิสติกเช่นกัน แต่ผู้ปกครองหลายคนไม่ได้สังเกตเรื่องการมองหน้า การเล่น พฤติกรรมของเด็กขณะถูกอุ้ม และการรับรู้ทางประสาทสัมผัสของเด็ก
650
_7
‡aเด็กออทิสติก
650
_7
‡aเด็กออทิสติก‡xการศึกษา‡xวิจัย
700
0_
‡aยุวดี วิริยางกูร
700
0_
‡aกุลยา ก่อสุวรรณ
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
191187
371.9 ณ114ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร, และ กุลยา ก่อสุวรรณ. (2560).
การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร, และ กุลยา ก่อสุวรรณ.
การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2560.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร, และ กุลยา ก่อสุวรรณ. 2560.
การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) :รายงานการวิจัย .
สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ณัฐรินทร์ แซ่จุง, ยุวดี วิริยางกูร, และ กุลยา ก่อสุวรรณ. การพัฒนาแบบคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออทิสติกอายุ 4.-24 เดือน (สำหรับผู้ปกครอง) :รายงานการวิจัย . สงขลา :มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา; 2560.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
246/247
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
07/20/2567
จำนวนการยืม
1
เปิดดู (ครั้ง)
122
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.