เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1140911    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ฐิติมา เทพญา, ชนกิตติ์ ธนะสุข
ชื่อเรื่องFactors Impacting the Rendering of 3D Graphic Models
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ
Dewey Call #006.693 ฐ34ป
ผู้แต่งฐิติมา เทพญา
ผู้แต่งเพิ่มเติมชนกิตติ์ ธนะสุข
หัวเรื่องคอมพิวเตอร์กราฟิก--โปรแกรมคอมพิวเตอร์--วิจัย
 แบบจำลองสามมิติ--โปรแกรมคอมพิวเตอร์--วิจัย
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
ชื่อเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ฐิติมา เทพญา, ชนกิตติ์ ธนะสุข
ชื่อเรื่องFactors Impacting the Rendering of 3D Graphic Models
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ
Dewey Call #006.693 ฐ34ป
ผู้แต่งฐิติมา เทพญา
ผู้แต่งเพิ่มเติมชนกิตติ์ ธนะสุข
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
เนื้อหาภาพกราฟิกสองมิติและสามมิติ -- การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับแบบจำลองสามมิติ -- โปรแกรม 3D Studio Max (3DS Max) และโปรแกรมเสริม (Plug-in) -- ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- โครงสร้างของโปรโตคอล TCP (Transmission ConProtocol) -- การสื่อสารของโปรโตคอล TCP -- การเรนเดอร์แบบจำลองบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์สำหรับประมวลผลกราฟิก -- รายวิชาการสร้างโมเดลและการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
หัวเรื่องคอมพิวเตอร์กราฟิก--โปรแกรมคอมพิวเตอร์--วิจัย
 แบบจำลองสามมิติ--โปรแกรมคอมพิวเตอร์--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ154 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03876nam a2200241 4500
005 20190430135832.0
008 180208s2560 th a ‡‡‡ ‡ tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a006.693‡bฐ34ป
1000_‡aฐิติมา เทพญา
24510‡aปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cฐิติมา เทพญา, ชนกิตติ์ ธนะสุข
24631‡aFactors Impacting the Rendering of 3D Graphic Models
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ
260__‡aปัตตานี :‡bคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2560
300__‡a154 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
504__‡aบรรณานุกรม: หน้า 149-152
5050_‡aภาพกราฟิกสองมิติและสามมิติ -- การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับแบบจำลองสามมิติ -- โปรแกรม 3D Studio Max (3DS Max) และโปรแกรมเสริม (Plug-in) -- ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- โครงสร้างของโปรโตคอล TCP (Transmission ConProtocol) -- การสื่อสารของโปรโตคอล TCP -- การเรนเดอร์แบบจำลองบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ -- ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์สำหรับประมวลผลกราฟิก -- รายวิชาการสร้างโมเดลและการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
5203_‡aเทคโนโลยีการประมวลผลสมรรถนะสูงย่อมช่วยให้ซอฟต์แวร์ที่ประมวลผลงานด้านกราฟิกสามารถเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติตามความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างเสมือนจริง นอกจากนี้การนำเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกระจายมาประยุกต์ใช้เพื่อเรนเดอร์แบบจำลองบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เป็นการเพิ่มศักยภาพในการเรนเดอร์ให้มีความรวดเร็วยิ่งขึ้น แต่จะทราบได้อย่างไรว่าแบบจำลองระดับคุณภาพใดที่ควรจะเรนเดอร์ด้วยคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวหรือเรนเดอร์ด้วยคอมพิวเตอร์มากกว่าหนึ่งเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่บนเครือข่าย ดังนั้นการวิจัยเรื่อง "ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติ" จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรนเดอร์แบบจำลองกราฟิกสามมิติที่มีระดับคุณภาพแตกต่างกัน เพื่่อเป็นแนวทางในการนำองค์ความรู้และทรัพยากรที่มีในองค์กรมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด โดยใช้แบบจำลองตัวอย่างในการทดสอบจำนวนสามแบบจำลองซึ่งมีความซับซ้อนอยู่ในระดับมาก ปานกลางและน้อย ในแบบจำลองตัวอย่างแต่ละแบบได้กำหนดระดับคุณภาพออกเป็นสี่ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง และต่ำ จากนั้นนำแบบจำลองทั้งสี่ระดับคุณภาพของแบบจำลองตัวอย่างทั้งหมดเรนเดอร์บนคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวและคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย โดยทำการปรับเปลี่ยนจำนวนคอมพิวเตอร์ในแต่ละรอบของการทดสอบจาก 1 เครื่อง เป็น 4 เครื่อง 8 เครื่อง และ 11 เครื่องตามลำดับ เพื่อพิจารณาระยะเวลาการเรนเดอร์ การใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ และคุณภาพของภาพผลลัพธ์ ผลการทดสอบพบว่า เมื่อเรนเดอร์แบบจำลองตัวอย่างที่มีความซับซ้อนมากด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวโดยเพิ่มระดับคุณภาพของแบบจำลองให้สูงขึ้นจะทำให้ใช้หน่วยประมวลผลกลางอย่างเต็มประสิทธิภาพเป็นเวลานานขึ้น และใช้ระยะเวลาในการเรนเดอร์มากขึ้นด้วยเช่นกัน ภาพผลลัพธ์ที่ได้มีความละเอียด คมชัดสูง และสามารถขยายขนาดของภาพโดยคงคุณภาพเดิมของภาพไว้ได้ เมื่อลดระดับคุณภาพของแบบจำลองลงทำให้ระยะเวลาที่ใช้หน่วยประมวลผลกลางอย่างเต็มประสิทธิภาพน้อยลงระยะเวลาในการเรนเดอร์ก็ลดลงด้วยเช่นกัน ภาพผลลัพธ์ที่ได้มีความละเอียด คมชัดน้อย และไม่สามารถขยายขนาดของภาพโดยคงคุณภาพเดิมไว้ได้ การเรนเดอร์แบบจำลองในทุกระดับคุณภาพจะมีระยะเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลางอย่างเต็มประสิทธิภาพและระยะเวลาการเรนเดอร์ลดลงเมื่อเพิ่มจำนวนคอมพิวเตอร์ขึ้นสำหรับการเรนเดอร์ผ่านระบบเครือข่าย แบบจำลองตัวอย่างที่มีความซับซ้อนปานกลางให้ผลลัพธ์ในการเรนเดอร์เดียวกับแบบจำลองที่มีความซับซ้อนมาก ยกเว้นเมื่อลดคุณภาพของแบบจำลองนี้ลงถึงระดับต่ำสุด การเรนเดอร์ผ่านระบบเครือข่ายด้วยคอมพิวเตอร์จำนวน 11 เครื่อง กลับใช้เวลามากกว่าการเรนเดอร์ด้วยคอมพิวเตอร์จำนวน 8 เครื่อง ส่วนแบบจำลองตัวอย่างที่มีความซับซ้อนน้อยให้ผลลัพธ์ของการเรนเดอร์ในระดับคุณภาพมากเป็นไปในทิศทางเดียวกับแบบจำลองข้างต้น แต่เมื่อลดระดับคุณภาพลงจากนี้ การเรนเดอร์ด้วยจำนวนคอมพิวเตอร์ที่มากขึ้นกลับใช้ระยะเวลามากขึ้นกว่าการเรนเดอร์ด้วยจำนวนคอมพิวเตอร์ที่น้อยกว่า
650_7‡aคอมพิวเตอร์กราฟิก‡xโปรแกรมคอมพิวเตอร์‡xวิจัย
650_7‡aแบบจำลองสามมิติ‡xโปรแกรมคอมพิวเตอร์‡xวิจัย
7000_‡aชนกิตติ์ ธนะสุข
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
CR193890006.693 ฐ34ปซีดีประกอบหนังสือสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
193890006.693 ฐ34ปวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด