เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1141155    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องโครงการวิจัย การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจก เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น : รายงานการวิจัย / อัศวิณีย์ หวานจริง
ชื่อเรื่องThe Creation of a Glass Mosaic Mural for Preserving Local Community Culture
Dewey Call #745.5 อ118ค
ผู้แต่งอัศวิณีย์ หวานจริง
หัวเรื่องศิลปกรรมไทย
 ศิลปกรรม--ไทย
พิมพลักษณ์เชียงใหม่ : ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557
ชื่อเรื่องโครงการวิจัย การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจก เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น : รายงานการวิจัย / อัศวิณีย์ หวานจริง
ชื่อเรื่องThe Creation of a Glass Mosaic Mural for Preserving Local Community Culture
Dewey Call #745.5 อ118ค
ผู้แต่งอัศวิณีย์ หวานจริง
พิมพลักษณ์เชียงใหม่ : ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557
หมายเหตุโครงการวิจัย การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจก เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมกันของผู้วิจัยกับนายอุดม หวานจริง ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากความศรัทธาในพระศาลนาและงานศิลปกรรมของครูช่างไทยในอดีต การสร้างสรรค์งานศิลปะสู่ชุมชนครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการจะบันทึกภาพที่มีเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมล้านนา อันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นในปัจจุบัน ด้วยการสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะ โดยใช้วัสดุกระจกสีสร้างเป็นตัวภาพ ประดับลงบนผนังด้านข้าง (ฝั่งทิศใต้) ของวิหารวัดท่าข้าม (ชัยชนะ) เพื่อบันทึกภาพวัฒนธรรมความดีงามของชุมชนซึ่งพวกเขาภาคภูมิใจ ไว้่ในศานาสถานที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของทุกคนในชุมชน ให้เป็นมรดกแก่อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ เริ่มจากการพูดคุยกับชุมชนถึงความต้องการในการบูรณะตกแต่งวิหารให้มีความงดงามมากขึ้น ซึ่งทางชุมชนต้องการบันทึกภาพประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น เป็นงานศิลปะไว้ที่ผนังวิหาร การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจกจึงเริ่มขึ้น โดยการใช้เทคนิคการประดับกระจกสี เป็นตัวภาพแบบอุดมคติเหมือนในภาพจิตรกรรมฝาผนัง อันเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะไทย มีการคิดค้นพัฒนาเทคนิควิธีการตัดและติดกระจกรูปแบบใหม่ จนเกิดเป็นงานที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ซึ่งผู้วิจัยพยายามปรับให้มีความเหมาะสมกับการทำงานในยุคปัจจุบัน รวมทั้งได้มีการจัดอบรมการสร้างสรรค์งานกระจกสีให้ทางชุมชนและนักศึกษา ได้เรียนรู้วิธีการสร้างสรรค์งานกระจก เพื่อช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถด้านศิลปะ ซึ่งจะทำให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม และช่วยกันดูแลรักษาผลงานศิลปกรรมกระจกบนผนังวิหาร ให้คงอยู่กับชุมชนสืบต่อไปอย่างยั่งยืน ตลอดระยะเวลาของการดำเนินงาน ผู้วิจัยได้ทำการประเมินสอบถามความพึงพอใจของชุมชน ตั้งแต่ก่อนเริ่มงานจนกระทั่งสร้างสรรค์ผลงานเสร็จ แล้วนำมาสรุปวิเคราะห์ผลความพึงพอใจและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของชุมชน ผลปรากฏว่าในภาพรวมชุมชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งเรื่องความสวยงาม ความประณีต เนื้อหา เกิดสำนึกรักในศิลปวัฒนธรรม มีความภาคภูมิใจและหวงแหนสมบัติในท้องถิ่น เห็นความสำคัญในเอกลักษณ์วัฒนธรรมวิถีชีวิตของชุมชนมากขึ้น และต้องการให้ประดับศิลปกรรมกระจกบนผนังรอบวิหาร ส่วนผลปรากฏของสภาวะแวดล้อมภายในวัด งานศิลปกรรมกระจกได้ทำให้วิหารดูโดดเด่นสะดุดตาชุมชนช่วยกันพัฒนาปรับปรุงพื้นที่บริเวณวัดให้สะอาดสวยงาม แสดงให้เห็นว่างานศิลปกรรมกระจกได้ช่วยสร้างคุณค่าทางสุนทรียะให้กับสภาพแวดล้อม และสร้างปฏิสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับชุมชน ได้เข้าใจถึงความสำคัญของศิลปะ จนเกิดสำนึกในการช่วยกันดูแลรักษาผลงานสืบต่อไป การสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมกับชุมชน ทำให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสเรียนรู้ และพัฒนาตัวเองในการสร้างสรรค์งานมากขึ้น โดยพบว่าการเรียนรู้ให้ได้ผล จะต้องมาจากการปฏิบัติจริง หลายสิ่งนั้นไม่มีในตำราเรียน ต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการที่จะคิด วิเคราะห์ ใช้วิจารณญาณในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ให้ได้ จึงจะเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ดังนั้นการเรียนการสอนทางด้านศิลปะในปัจจุบัน ควรพัฒนาการสอนเป็นรูปแบบของการมีส่วนร่วมกับผู้อื่นหรือเพื่อสังคมส่วนร่วม เพราะนอกจากจะได้ผลงานศิลปะที่งดงามแล้ว ผลงานนั้นก็จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ทั้งยังช่วยสร้างคุณค่าทางสุนทรียภาพให้กับสังคมส่วนร่วมต่อไปด้วย
หัวเรื่องศิลปกรรมไทย
 ศิลปกรรม--ไทย
ลักษณะทางกายภาพ263 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03543nam a2200205 4500
005 20180501105907.0
008 180430s2557 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a745.5‡bอ118ค
1000_‡aอัศวิณีย์ หวานจริง
24510‡aโครงการวิจัย การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจก เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น :‡bรายงานการวิจัย /‡cอัศวิณีย์ หวานจริง
24631‡aThe Creation of a Glass Mosaic Mural for Preserving Local Community Culture
260__‡aเชียงใหม่ :‡bภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,‡c2557
300__‡a263 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aโครงการวิจัย การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจก เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมกันของผู้วิจัยกับนายอุดม หวานจริง ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากความศรัทธาในพระศาลนาและงานศิลปกรรมของครูช่างไทยในอดีต การสร้างสรรค์งานศิลปะสู่ชุมชนครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการจะบันทึกภาพที่มีเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมล้านนา อันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นในปัจจุบัน ด้วยการสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะ โดยใช้วัสดุกระจกสีสร้างเป็นตัวภาพ ประดับลงบนผนังด้านข้าง (ฝั่งทิศใต้) ของวิหารวัดท่าข้าม (ชัยชนะ) เพื่อบันทึกภาพวัฒนธรรมความดีงามของชุมชนซึ่งพวกเขาภาคภูมิใจ ไว้่ในศานาสถานที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของทุกคนในชุมชน ให้เป็นมรดกแก่อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ เริ่มจากการพูดคุยกับชุมชนถึงความต้องการในการบูรณะตกแต่งวิหารให้มีความงดงามมากขึ้น ซึ่งทางชุมชนต้องการบันทึกภาพประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น เป็นงานศิลปะไว้ที่ผนังวิหาร การสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจกจึงเริ่มขึ้น โดยการใช้เทคนิคการประดับกระจกสี เป็นตัวภาพแบบอุดมคติเหมือนในภาพจิตรกรรมฝาผนัง อันเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะไทย มีการคิดค้นพัฒนาเทคนิควิธีการตัดและติดกระจกรูปแบบใหม่ จนเกิดเป็นงานที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ซึ่งผู้วิจัยพยายามปรับให้มีความเหมาะสมกับการทำงานในยุคปัจจุบัน รวมทั้งได้มีการจัดอบรมการสร้างสรรค์งานกระจกสีให้ทางชุมชนและนักศึกษา ได้เรียนรู้วิธีการสร้างสรรค์งานกระจก เพื่อช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถด้านศิลปะ ซึ่งจะทำให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม และช่วยกันดูแลรักษาผลงานศิลปกรรมกระจกบนผนังวิหาร ให้คงอยู่กับชุมชนสืบต่อไปอย่างยั่งยืน ตลอดระยะเวลาของการดำเนินงาน ผู้วิจัยได้ทำการประเมินสอบถามความพึงพอใจของชุมชน ตั้งแต่ก่อนเริ่มงานจนกระทั่งสร้างสรรค์ผลงานเสร็จ แล้วนำมาสรุปวิเคราะห์ผลความพึงพอใจและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของชุมชน ผลปรากฏว่าในภาพรวมชุมชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งเรื่องความสวยงาม ความประณีต เนื้อหา เกิดสำนึกรักในศิลปวัฒนธรรม มีความภาคภูมิใจและหวงแหนสมบัติในท้องถิ่น เห็นความสำคัญในเอกลักษณ์วัฒนธรรมวิถีชีวิตของชุมชนมากขึ้น และต้องการให้ประดับศิลปกรรมกระจกบนผนังรอบวิหาร ส่วนผลปรากฏของสภาวะแวดล้อมภายในวัด งานศิลปกรรมกระจกได้ทำให้วิหารดูโดดเด่นสะดุดตาชุมชนช่วยกันพัฒนาปรับปรุงพื้นที่บริเวณวัดให้สะอาดสวยงาม แสดงให้เห็นว่างานศิลปกรรมกระจกได้ช่วยสร้างคุณค่าทางสุนทรียะให้กับสภาพแวดล้อม และสร้างปฏิสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับชุมชน ได้เข้าใจถึงความสำคัญของศิลปะ จนเกิดสำนึกในการช่วยกันดูแลรักษาผลงานสืบต่อไป การสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมกับชุมชน ทำให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสเรียนรู้ และพัฒนาตัวเองในการสร้างสรรค์งานมากขึ้น โดยพบว่าการเรียนรู้ให้ได้ผล จะต้องมาจากการปฏิบัติจริง หลายสิ่งนั้นไม่มีในตำราเรียน ต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการที่จะคิด วิเคราะห์ ใช้วิจารณญาณในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ให้ได้ จึงจะเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ดังนั้นการเรียนการสอนทางด้านศิลปะในปัจจุบัน ควรพัฒนาการสอนเป็นรูปแบบของการมีส่วนร่วมกับผู้อื่นหรือเพื่อสังคมส่วนร่วม เพราะนอกจากจะได้ผลงานศิลปะที่งดงามแล้ว ผลงานนั้นก็จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ทั้งยังช่วยสร้างคุณค่าทางสุนทรียภาพให้กับสังคมส่วนร่วมต่อไปด้วย
504__‡aบรรณานุกรม: หน้า 262
650_7‡aศิลปกรรมไทย
650_7‡aศิลปกรรม‡zไทย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
CR191221745.5 อ118คซีดีประกอบหนังสือสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
191221745.5 อ118ควิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด