ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1141463
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) / พัชลินจ์ จีนนุ่น
ชื่อเรื่อง
The Wisdom of Thai : Studying from the Central Didactic Literature in the age of printing (A.D. 1916-1950)
Dewey Call #
895.9109 พ112ภ
ผู้แต่ง
พัชลินจ์ จีนนุ่น
หัวเรื่อง
วรรณกรรมคำสอน--ประวัติและวิจารณ์
วรรณคดีไทย--ประวัติและวิจารณ์
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2560
ชื่อเรื่อง
ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) / พัชลินจ์ จีนนุ่น
ชื่อเรื่อง
The Wisdom of Thai : Studying from the Central Didactic Literature in the age of printing (A.D. 1916-1950)
Dewey Call #
895.9109 พ112ภ
ผู้แต่ง
พัชลินจ์ จีนนุ่น
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2560
เนื้อหา
นิยามของวรรณกรรมคำสอน ยุคการพิมพ์ และวรรณกรรมคำสอนภาคกลาง -- แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญา -- แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรม -- บริบทสังคมไทยหลังจากรับอิทธิพลจากตะวันตก
หมายเหตุ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาของคนไทยจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ.2459-2493) ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมกลุ่มนี้มีรูปแบบและเนื้อหาที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เนื้อหาแสดงภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ผู้แต่งแสดงภูมิปัญญาด้านการแนะนำหลักคำสอนที่มีประโยชน์สำหรับการดำเนินชีวิตของคนกลุ่มต่างๆ จำนวน 6 กลุ่ม คือ หลักคำสอนเรื่องการดำเนินชีวิตของบุคคลทั่วไป หลักคำสอนเรื่องการครองตนของหญิงโสด หลักคำสอนเรื่องการเลือกคู่ครองของชายหนุ่มหญิงสาว หลักคำสอนเรื่องสูตรสำเร็จสำหรับการเกี้ยวผู้หญิง ของชายหนุ่ม หลักคำสอนเรื่องการครองเรือนของสามีภรรยา และหลักคำสอนเรื่องการวางตนของแม่ยายต่อลูกเขยโดยผู้แต่งแสดงภูมิปัญญาด้านการใช้กลวิธีการสอนที่ช่วยเน้นย้ำหลักคำสอน จำนวน 10 กลวิธี คือ การสอนอย่างตรงไปตรงมาเพื่อเน้นย้ำสิ่งที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติ การสอนผ่านเรื่องเล่าต่างๆ เพื่อสร้างความเพลิดเพลินควบคู่กับการได้รับคติคำสอน การสอนโดยท้าพิสูจน์และทดลองผลเพื่อให้เห็นผลเชิงประจักษ์ การสอนโดยอธิบายเหตุผลและยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย การสอนโดยการแจกแจงสาระคำสอนเพื่อให้เห็นข้อมูลอย่างกระจ่างแจ้ง การสอนโดยบอกผลที่จะได้รับเพื่อยั่วยุให้อยากทำดีและรู้สึกกลัวเมื่อทำชั่ว การสอนโดยการเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นภาพคำสอนที่เป็นรูปธรรมขึ้น การสอนโดยอ้างบริบทต่างๆ เพื่อให้น่าเชื่อถือ การสอนโดยการเน้นย้ำหัวข้อคำสอนซ้ำๆ เพื่อไม่ให้หลงประเด็น และการสอนโดยใช้วิธีสนทนาธรรมตามแบบวิธีในพระพุทธศาสนาเพื่อตอบสนองด้านจิตใจ นอกจากนี้ ยังแสดงภูมิปัญญาการสร้างสรรค์ทางสุนทรียะในวรรณกรรมที่โดดเด่น 3 ประการ คือ การสร้างสรรค์เสียงคำที่หลากหลายเพื่อสื่ออารมณ์ ความคิดการใช้ภาพพจน์ความเปรียบที่ผู้อ่านคุ้นเคยเพื่อเน้นย้ำหลักคำสอน และการใช้โวหารเทศนาเชิงแนะนำสั่งสอนเพื่อให้ซาบซึ้งและศรัทธา ภูมิปัญญาของผู้แต่งที่แสดงออกในวรรณกรรมคำสอนกลุ่มนี้เกิดจากการสั่งสมเรียนรู้จากหนังสือ ตำรา จารีตประเพณี ระบบกฏเกณฑ์ต่างๆ ในสังคม คำบอกเล่าของคนโบราณประสบการณ์ส่วนตน และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เห็นว่าดีงามเหมาะสมที่จะนำมาแนะนำสั่งสอนผู้อ่านเพื่อให้ดำรงตนอย่างมีความสุข ราบรื่น และมั่นคงได้ทั่งในระดับส่วนตน ครอบครัวและสังคม ภูมิปัญญาที่แสดงออกสามารถนำไปแก้ไขวิกฤตการณ์ทางสังคม ช่วยสืบทอดค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่ต่อไป ช่วยเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่คนในสังคม และใช้เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังพลเมืองดีตามนโยบายของรัฐ
หัวเรื่อง
วรรณกรรมคำสอน--ประวัติและวิจารณ์
วรรณคดีไทย--ประวัติและวิจารณ์
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ลักษณะทางกายภาพ
265 หน้า :ภาพประกอบ
LDR
03113nam a2200217 4500
005
20230526141949.0
008
180704s2560 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a895.9109‡bพ112ภ
100
0_
‡aพัชลินจ์ จีนนุ่น
245
10
‡aภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) /‡cพัชลินจ์ จีนนุ่น
246
31
‡aThe Wisdom of Thai : Studying from the Central Didactic Literature in the age of printing (A.D. 1916-1950)
260
__
‡aสงขลา :‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ,‡c2560
300
__
‡a265 หน้า :‡bภาพประกอบ
502
__
‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาของคนไทยจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ.2459-2493) ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมกลุ่มนี้มีรูปแบบและเนื้อหาที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เนื้อหาแสดงภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ผู้แต่งแสดงภูมิปัญญาด้านการแนะนำหลักคำสอนที่มีประโยชน์สำหรับการดำเนินชีวิตของคนกลุ่มต่างๆ จำนวน 6 กลุ่ม คือ หลักคำสอนเรื่องการดำเนินชีวิตของบุคคลทั่วไป หลักคำสอนเรื่องการครองตนของหญิงโสด หลักคำสอนเรื่องการเลือกคู่ครองของชายหนุ่มหญิงสาว หลักคำสอนเรื่องสูตรสำเร็จสำหรับการเกี้ยวผู้หญิง ของชายหนุ่ม หลักคำสอนเรื่องการครองเรือนของสามีภรรยา และหลักคำสอนเรื่องการวางตนของแม่ยายต่อลูกเขยโดยผู้แต่งแสดงภูมิปัญญาด้านการใช้กลวิธีการสอนที่ช่วยเน้นย้ำหลักคำสอน จำนวน 10 กลวิธี คือ การสอนอย่างตรงไปตรงมาเพื่อเน้นย้ำสิ่งที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติ การสอนผ่านเรื่องเล่าต่างๆ เพื่อสร้างความเพลิดเพลินควบคู่กับการได้รับคติคำสอน การสอนโดยท้าพิสูจน์และทดลองผลเพื่อให้เห็นผลเชิงประจักษ์ การสอนโดยอธิบายเหตุผลและยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย การสอนโดยการแจกแจงสาระคำสอนเพื่อให้เห็นข้อมูลอย่างกระจ่างแจ้ง การสอนโดยบอกผลที่จะได้รับเพื่อยั่วยุให้อยากทำดีและรู้สึกกลัวเมื่อทำชั่ว การสอนโดยการเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นภาพคำสอนที่เป็นรูปธรรมขึ้น การสอนโดยอ้างบริบทต่างๆ เพื่อให้น่าเชื่อถือ การสอนโดยการเน้นย้ำหัวข้อคำสอนซ้ำๆ เพื่อไม่ให้หลงประเด็น และการสอนโดยใช้วิธีสนทนาธรรมตามแบบวิธีในพระพุทธศาสนาเพื่อตอบสนองด้านจิตใจ นอกจากนี้ ยังแสดงภูมิปัญญาการสร้างสรรค์ทางสุนทรียะในวรรณกรรมที่โดดเด่น 3 ประการ คือ การสร้างสรรค์เสียงคำที่หลากหลายเพื่อสื่ออารมณ์ ความคิดการใช้ภาพพจน์ความเปรียบที่ผู้อ่านคุ้นเคยเพื่อเน้นย้ำหลักคำสอน และการใช้โวหารเทศนาเชิงแนะนำสั่งสอนเพื่อให้ซาบซึ้งและศรัทธา ภูมิปัญญาของผู้แต่งที่แสดงออกในวรรณกรรมคำสอนกลุ่มนี้เกิดจากการสั่งสมเรียนรู้จากหนังสือ ตำรา จารีตประเพณี ระบบกฏเกณฑ์ต่างๆ ในสังคม คำบอกเล่าของคนโบราณประสบการณ์ส่วนตน และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เห็นว่าดีงามเหมาะสมที่จะนำมาแนะนำสั่งสอนผู้อ่านเพื่อให้ดำรงตนอย่างมีความสุข ราบรื่น และมั่นคงได้ทั่งในระดับส่วนตน ครอบครัวและสังคม ภูมิปัญญาที่แสดงออกสามารถนำไปแก้ไขวิกฤตการณ์ทางสังคม ช่วยสืบทอดค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่ต่อไป ช่วยเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่คนในสังคม และใช้เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังพลเมืองดีตามนโยบายของรัฐ
505
0_
‡aนิยามของวรรณกรรมคำสอน ยุคการพิมพ์ และวรรณกรรมคำสอนภาคกลาง -- แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญา -- แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรม -- บริบทสังคมไทยหลังจากรับอิทธิพลจากตะวันตก
650
_7
‡aวรรณกรรมคำสอน‡xประวัติและวิจารณ์
650
_7
‡aวรรณคดีไทย--ประวัติและวิจารณ์
650
_7
‡aภูมิปัญญาชาวบ้าน
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
192043
895.9109 พ112ภ
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
192044
895.9109 พ112ภ ฉ.2
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560).
ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) .
สงขลา :คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
พัชลินจ์ จีนนุ่น.
ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) .
สงขลา :คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2560.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
พัชลินจ์ จีนนุ่น. 2560.
ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) .
สงขลา :คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
พัชลินจ์ จีนนุ่น. ภูมิปัญญาของคนไทย : ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459-2493) . สงขลา :คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ; 2560.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
246/247
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
06/04/2563
จำนวนการยืม
1
เปิดดู (ครั้ง)
133
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.