เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1141664    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องโลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต' : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / พิชามญชุ์ วรรณชาติ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง โลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต'
 Worldviews in Chokchai Bundit's Poetry
Dewey Call #895.911 พ32ล
ผู้แต่งพิชามญชุ์ วรรณชาติ
หัวเรื่องกวีนิพนธ์ไทย--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
ชื่อเรื่องโลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต' : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / พิชามญชุ์ วรรณชาติ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง โลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต'
 Worldviews in Chokchai Bundit's Poetry
Dewey Call #895.911 พ32ล
ผู้แต่งพิชามญชุ์ วรรณชาติ
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
เนื้อหาบริบททางสังคมวัฒนธรรม -- ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยกับปัญหาทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ -- ระบบคิดในวิถีชีวิตดั้งเดิม : ทางเลือกและทางรอดของสังคม -- บทบาทหน้าที่ของกวีในทัศนะโชคชัย บัณฑิต' -- เนื้อหาของงานประพันธ์จากกังสดาลดอกไม้ถึงรูปฉายลายชีพ
หมายเหตุงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาโลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต' เพื่อให้เข้าถึงคุณค่าและความหมายของบทประพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า โชคชัย บัณฑิต' ใช้ความเป็นผู้สังเกตการณ์ตั้งข้อสังเกตว่าตลอดระยะเวลาการพัฒนาในช่วง พ.ศ. 2528-2553 (ตามบริบทของการแต่งบทประพันธ์) อันเป็นระยะเวลารวม 25 ปีนั้น การพัฒนามุ่งเน้นทางวัตถุและมุ่งไปสู่ความทันสมัย จนทำให้ผู้คนในสังคมเกิดความสับสนในคุณค่าของความเป็นมนุษย์และเกิดวิกฤตทางจิตวิญญาณ สิ่งที่เห็นได้ชัดคือทัศนคติในการดำรงชีวิต คนยุคใหม่มุ่งเน้นความเป็นศูนย์กลางของตัวเองจนละเลยปฏิสัมพันธ์กับผู้คนรอบด้าน ผู้คนนิยมบริโภคสื่อที่ให้ความบันเทิงแบบฉาบฉวย อีกทั้งการตัดสินแบบขาว-ดำ ถูก-ผิด และแบบเลือกข้าง โดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองถึงความซับซ้อนความเป็นมนุษย์ก็ทำให้เกิดความคิดสำเร็จรูป จนนำไปสู่การไม่ยอมรับความเห็นต่างและนำไปสู่ปัญหาอื่นๆ สิ่งเหล่านี้คือวิกฤตทางจิตวิญญาณที่กวีมองว่าเป็นปัญหาที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน แต่ในขณะเดียวกัน กวีก็ยังเชื่อมั่นในศักยภาพและความดีงามในจิตใจของมนุษย์ มนุษย์เท่านั้นที่จะแก้ไขปัญหาอันเกิดจากการพัฒนาที่ผิดพลาดและขาดความสมดุลได้จากประสบการณ์ และการเรียนรู้สัจธรรมจากธรรมชาติแนวคิดที่ปรากฏในรวมบทกวีนิพนธ์ทั้ง 5 เล่มตั้งแต่ กังสดาลดอกไม้ (2534) ลมอ่อนตะวันอุ่น (2537) เงานกในร่มไม้ (2538) บ้านเก่า (2544) และ รูปฉายลายชีพ (2553) จึงมีทั้งการชี้ให้เห็นจุดอ่อนของมนุษญ์และสังคม คุณธรรมที่มนุษย์พึงมี รวมทั้งการเสนอข้อคิดทางปรัชญา โดยเน้นเรื่องการเรียนรู้สัจธรรมธรรมชาติและการให้ความสำคัญกับอุดมคติ
หัวเรื่องกวีนิพนธ์ไทย--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ176 แผ่น
LDR 02294nam a2200205 4500
005 20180817150814.0
008 180816s2561 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a895.911‡bพ32ล
1000_‡aพิชามญชุ์ วรรณชาติ
24510‡aโลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต' : ‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cพิชามญชุ์ วรรณชาติ
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง โลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต'
24631‡aWorldviews in Chokchai Bundit's Poetry
260__‡aสงขลา : ‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,‡c2561
300__‡a176 แผ่น
502__‡aงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาโลกทัศน์ในรวมบทกวีนิพนธ์ของโชคชัย บัณฑิต' เพื่อให้เข้าถึงคุณค่าและความหมายของบทประพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า โชคชัย บัณฑิต' ใช้ความเป็นผู้สังเกตการณ์ตั้งข้อสังเกตว่าตลอดระยะเวลาการพัฒนาในช่วง พ.ศ. 2528-2553 (ตามบริบทของการแต่งบทประพันธ์) อันเป็นระยะเวลารวม 25 ปีนั้น การพัฒนามุ่งเน้นทางวัตถุและมุ่งไปสู่ความทันสมัย จนทำให้ผู้คนในสังคมเกิดความสับสนในคุณค่าของความเป็นมนุษย์และเกิดวิกฤตทางจิตวิญญาณ สิ่งที่เห็นได้ชัดคือทัศนคติในการดำรงชีวิต คนยุคใหม่มุ่งเน้นความเป็นศูนย์กลางของตัวเองจนละเลยปฏิสัมพันธ์กับผู้คนรอบด้าน ผู้คนนิยมบริโภคสื่อที่ให้ความบันเทิงแบบฉาบฉวย อีกทั้งการตัดสินแบบขาว-ดำ ถูก-ผิด และแบบเลือกข้าง โดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองถึงความซับซ้อนความเป็นมนุษย์ก็ทำให้เกิดความคิดสำเร็จรูป จนนำไปสู่การไม่ยอมรับความเห็นต่างและนำไปสู่ปัญหาอื่นๆ สิ่งเหล่านี้คือวิกฤตทางจิตวิญญาณที่กวีมองว่าเป็นปัญหาที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน แต่ในขณะเดียวกัน กวีก็ยังเชื่อมั่นในศักยภาพและความดีงามในจิตใจของมนุษย์ มนุษย์เท่านั้นที่จะแก้ไขปัญหาอันเกิดจากการพัฒนาที่ผิดพลาดและขาดความสมดุลได้จากประสบการณ์ และการเรียนรู้สัจธรรมจากธรรมชาติแนวคิดที่ปรากฏในรวมบทกวีนิพนธ์ทั้ง 5 เล่มตั้งแต่ กังสดาลดอกไม้ (2534) ลมอ่อนตะวันอุ่น (2537) เงานกในร่มไม้ (2538) บ้านเก่า (2544) และ รูปฉายลายชีพ (2553) จึงมีทั้งการชี้ให้เห็นจุดอ่อนของมนุษญ์และสังคม คุณธรรมที่มนุษย์พึงมี รวมทั้งการเสนอข้อคิดทางปรัชญา โดยเน้นเรื่องการเรียนรู้สัจธรรมธรรมชาติและการให้ความสำคัญกับอุดมคติ
5050_‡aบริบททางสังคมวัฒนธรรม -- ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยกับปัญหาทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ -- ระบบคิดในวิถีชีวิตดั้งเดิม : ทางเลือกและทางรอดของสังคม -- บทบาทหน้าที่ของกวีในทัศนะโชคชัย บัณฑิต' -- เนื้อหาของงานประพันธ์จากกังสดาลดอกไม้ถึงรูปฉายลายชีพ
650_7‡aกวีนิพนธ์ไทย‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
192412895.911 พ32ลวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด