ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1141907
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต / วิทยา อาภรณ์
Dewey Call #
324.2092 ว34น
ผู้แต่ง
วิทยา อาภรณ์
หัวเรื่อง
นักการเมือง--ไทย--ภูเก็ต--วิจัย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--ภูเก็ต--วิจัย
นักการเมือง--ไทย--ชีวประวัติ--วิจัย
การปกครองท้องถิ่น--วิจัย
นักการเมือง--ไทย--ภูเก็ต--กิจกรรมทางการเมือง--วิจัย
ISBN
9789744499585
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560
ชื่อเรื่อง
นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต / วิทยา อาภรณ์
Dewey Call #
324.2092 ว34น
ผู้แต่ง
วิทยา อาภรณ์
ISBN
9789744499585
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560
Series
ชุดสำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น; เล่มที่ 58
ชื่อชุด
ชุดสำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น; เล่มที่ 58
เนื้อหา
ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดภูเก็ต -- ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ -- สภาพเศรษฐกิจ -- สภาพสังคมและวัฒนธรรม -- การบริหารและการปกครอง -- นักการเมืองท้องถิ่นจังหวัดภูเก็ต -- ภูมิหลังทางการเมืองของจังหวัดภูเก็ต -- การเลือกตั้งและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึงปัจจุบัน(2557) -- การเมือง ภูมิหลังเครือข่ายทางการเมืองและกลวิธีหาเสียงของนักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ตตั้งแต่ยุคแรกจนถึงปัจจุบัน
หัวเรื่อง
นักการเมือง--ไทย--ภูเก็ต--วิจัย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--ภูเก็ต--วิจัย
นักการเมือง--ไทย--ชีวประวัติ--วิจัย
การปกครองท้องถิ่น--วิจัย
นักการเมือง--ไทย--ภูเก็ต--กิจกรรมทางการเมือง--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
277 หน้า
LDR
04298nam a2200265 4500
005
20230524162437.0
008
180917s2560 th tha d
020
__
‡a9789744499585‡c165
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a324.2092‡bว34น
100
0_
‡aวิทยา อาภรณ์
245
10
‡aนักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต /‡cวิทยา อาภรณ์
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bสถาบันพระปกเกล้า,‡c2560
300
__
‡a277 หน้า
490
1_
‡aชุดสำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น; เล่มที่ 58
505
__
‡aข้อมูลทั่วไปของจังหวัดภูเก็ต -- ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ -- สภาพเศรษฐกิจ -- สภาพสังคมและวัฒนธรรม -- การบริหารและการปกครอง -- นักการเมืองท้องถิ่นจังหวัดภูเก็ต -- ภูมิหลังทางการเมืองของจังหวัดภูเก็ต -- การเลือกตั้งและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึงปัจจุบัน(2557) -- การเมือง ภูมิหลังเครือข่ายทางการเมืองและกลวิธีหาเสียงของนักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ตตั้งแต่ยุคแรกจนถึงปัจจุบัน
520
__
‡aการศึกษาเรื่อง นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ตเป็นส่วนหนึ่งในชุดโครงการสำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่นในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ของสถาบันพระปกเกล้ามีวัตถุประสงค์เพื่อรู้จักนักการเมืองที่เคยที่เคยได้รับการเลือกตั้งทราบถึงเครือข่ายและความสัมพันธ์ของนักการเมือง ทราบบทบาทและความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนในการสนับสนุนทางการเมืองแก่นักการเมือง ทราบบทบาทและความสัมพันธ์ของพรรคการเมืองกับนักการเมือง และทราบถึงวิธีการหาเสียงในการเลือกตั้งของนักการเมืองในจังหวัดภูเก็ต โดยมีขอบเขตของกการวิจัยตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกใน พ.ศ. 2476 จนถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดในจังหวัดภูเก็ตใน พ.ศ. 2554 วิธีการศึกษาอาศัยการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆและการสัมภาษณ์บุคคล ผลการศึกษาพบว่า การเมืองและนักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต ช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มาจนปัจจุบันแบ่งเป็น 3 ยุคคือ ยุคที่ 1 การประลองกำลังหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2475-2521) ยุคที่ 2 การค้นหาแนวทางหลังยุคเหมืองแร่ (พ.ศ. 2522-2534) และยุคที่ 3 การกุมอำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ท่ามกลางทุนโลกาภิวัฒน์ (พ.ศ. 2535-ปัจจุบัน พ.ศ. 2556) มีนักการเมืองที่โดดเด่นในจังหวัดภูเก็ตแต่ละยุครวม 3 คน คือ นายชิต เวชประสิทธิ์ นายเรวุฒิ จินดาพล และนางอัญชลี วานิช เทพบุตร เครือข่ายและความสัมพันธ์ของนักการเมืองในจังหวัดภูเก็ต แตกต่างกันออกไปในช่วงเวลาต่างๆ โดยยุคที่ 1 นักการเมืองถิ่นจะแข่งขันกันในเชิงแนวคิดทางการเมืองระหว่างระบบเดิมกับแนวคิดสังคมนิยมแต่ไม่ขัดแย้งกันรุนแรง ยุคที่ 2 เป็นช่วงของการค้นหาแนวทางหลังยุคเหมืองแร่ ส่วนยุคที่ 3 มีการแข่งขันระหว่างนักการเมืองรุนแรงขึ้น มีการพยายามแย่งฐานเสียงการกีดกัน ระหว่างนักการเมืองคนละกลุ่มอย่างชัดเจน ในด้านบทบาทและความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มที่ไม่เป็นทางการที่มีส่วนในการสนับสนุนทางการเมืองแก่นักการเมืองในจังหวัดภูเก็ต ในยุคที่ 1 มีทั้งที่เป็นครอบครัวเครือญาติของผู้ลงสมัคร นอกจากนี้ยังมีการสร้างกลุ่มที่ไม่เป็นทางการขึ้นมาหนุนเพื่อเป็นฐานเสียงให้กับผู้ลงสมัคร ในยุคที่ 2 มีการพยายามวางระบบความสัมพันะกับกลุ่มต่างๆ ที่จะหนุนผู้ลงสมัครอย่างชัดเจนมากขึ้น ส่วนในยุคที่ 3 บทบาทและความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มที่ไม่เป็นทางการริเริ่มมีบทบาทชัดเจนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากเศรษฐกิจของภูเก็ตเริ่มลงตัวว่า มาเน้นที่นักท่องเที่ยวและบริการ จึงมีนายทุนจากกิจกรรมเหล่านี้มาสนับสนุนนักการเมืองถิ่น ในด้านบทบาทและความสัมพันธ์ของพรรคการเมืองกับนักการเมืองในจังหวัดภูเก็ต ในยุคที่ 1 และยุคที่ 2 บทบาทของระบบพรรคการเมืองในจังหวัดภูเก็ต ในยุคที่ 1 และยุคที่ 2 บทบาทของระบบพรรคการเมืองยังำม่มีความชัดเจนนัก จนถึงยุคที่ 3 จึงเริ่มมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบมากขึ้น และในด้านวิธีการหาเสียงในการเลือกตั้งของนักการเมืองในจังหวัดภูเก็ต มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมากตั้งแต่สมัยนายเรวุฒิ จินดาพล ลงสมัครใน พ.ศ. 2529 วิธีการที่สำคัญในการหาเสียงของนักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ตแบ่งได้เป็น 9 วิธีการ คือการลงพื้นที่เคาะประตูบ้าน การใช้สื่อ การปราศรัย การใช้ขบวนแห่ การร่วมงานด้านประเพณีวัฒนธรรม การชูจุดเด่น การสร้าง รักษา และขยายฐานเสียงสนับสนุน การร่วมมือกับกลไกราชการ และการใช้วิธีการที่พลิกแพลงหลากหลาย สำหรับแนวโน้มในอนาคตของการเมืองก้าวกน้ามากขึ้นและพัฒนาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้มแข็ง อันจะทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมได้จริง ไม่เกิดการผูกขาด ทำให้ทุกคนจะสามารถอาศัยการเมืองแก้ไขปัญหาในสังคมได้จริง
650
_7
‡aนักการเมือง‡zไทย‡zภูเก็ต‡xวิจัย
650
_7
‡aสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร‡zภูเก็ต‡xวิจัย
650
_7
‡aนักการเมือง‡zไทย‡xชีวประวัติ‡xวิจัย
650
_7
‡aการปกครองท้องถิ่น‡xวิจัย
650
_7
‡aนักการเมือง‡zไทย‡zภูเก็ต‡xกิจกรรมทางการเมือง‡xวิจัย
830
_0
‡aชุดสำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น; เล่มที่ 58
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
192581
324.2092 ว34น
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
192582
324.2092 ว34น ฉ.2
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
200731
324.2092 ว34น ฉ.3
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
200730
324.2092 ว34น ฉ.4
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
วิทยา อาภรณ์. (2560).
นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
วิทยา อาภรณ์.
นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า, 2560.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
วิทยา อาภรณ์. 2560.
นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต .
กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
วิทยา อาภรณ์. นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต . กรุงเทพฯ :สถาบันพระปกเกล้า; 2560.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
102
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.