เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1141915    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย / ศศิธร วิศพันธุ์
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 The development of natural dyes cotton bag, Sapanpla weaving groups in Sathon, Nathavee Songkhla province.
Dewey Call #746.6 ศ18ก
ผู้แต่งศศิธร วิศพันธุ์
หัวเรื่องสีย้อมและการย้อมสี--วิจัย
 ผ้าฝ้าย--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1383
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย / ศศิธร วิศพันธุ์
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
 The development of natural dyes cotton bag, Sapanpla weaving groups in Sathon, Nathavee Songkhla province.
Dewey Call #746.6 ศ18ก
ผู้แต่งศศิธร วิศพันธุ์
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เนื้อหาการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการย้อมสี -- กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา
หมายเหตุงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2559
 การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กุล่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา เพื่อถ่ายทอดความรู้การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ให้กับกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และเพื่อศึกษาความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ขั้นตอนดำเนินการวิจัยประกอบด้วยขั้นตอนแรก คือ การศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่สองคือ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดที่ใช้ในการออกแบบ ขั้นตอนที่สาม คือ การออกแบบ โดยร่างแบบตามแนวคิดในการออกแบบให้มีรูปแบบสวยงาม ทันสมัย และเหมาะสมกับสตรีวัยทำงาน ขั้นตอนที่สี่ คือ การพัฒนาแบบร่าง เพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างต้นแบบ ขั้นตอนที่ห้า คือ การถ่ายทอดความรู้ โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนากระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ให้กับกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และขั้นตอนสุดท้าย คือ การประเมินผล โดยนำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ มาศึกษาความพึงพอใจจากกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และผู้บริโภค เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามความต้องการด้านรูปแบบกระเป๋า และแบบสอบถามความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า ได้กระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ จำนวน 3 รูปแบบ คือ กระเป๋าสำหรับคล้องสะพายไหล่ กระเป๋าสำหรับถือและคล้องสะพายไหล่ และกระเป๋าสำหรับถือคล้องมือ ผลการถ่ายทอดความรู้การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ทำให้กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตัดเย็บกระเป๋ามากขึ้น ซึ่งจากการประเมินผลงาน พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 6.36 และกลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ รูปแบบที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เป็นลำดับที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 4.06 กล่าวคือ มีความเป็นไปได้ในการผลิตจริง และเหมาะสมกับสตรีวัยทำงาน มีความสะดวกในการหยิบหรือใส่สิ่งของ ใส่ของได้ปริมาณมากและหลากหลาย มีความคงทนแข็งแรงโครงสร้างและรูปทรงสวยงาม รูปแบบมีความทันสมัย
หัวเรื่องสีย้อมและการย้อมสี--วิจัย
 ผ้าฝ้าย--วิจัย
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1383
ลักษณะทางกายภาพ118 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 03025nam a2200241 4500
005 20250312184501.0
008 180917s2559 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a746.6‡bศ18ก
1000_‡aศศิธร วิศพันธุ์
24510‡aการพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา : ‡bรายงานการวิจัย /‡cศศิธร วิศพันธุ์
24630‡aรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
24631‡aThe development of natural dyes cotton bag, Sapanpla weaving groups in Sathon, Nathavee Songkhla province.
260__‡aสงขลา : ‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2559
300__‡a118 หน้า : ‡bภาพประกอบ
500__‡aงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ. 2559
502__‡aการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ กุล่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา เพื่อถ่ายทอดความรู้การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ให้กับกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และเพื่อศึกษาความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ขั้นตอนดำเนินการวิจัยประกอบด้วยขั้นตอนแรก คือ การศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่สองคือ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดที่ใช้ในการออกแบบ ขั้นตอนที่สาม คือ การออกแบบ โดยร่างแบบตามแนวคิดในการออกแบบให้มีรูปแบบสวยงาม ทันสมัย และเหมาะสมกับสตรีวัยทำงาน ขั้นตอนที่สี่ คือ การพัฒนาแบบร่าง เพื่อนำไปสู่กระบวนการสร้างต้นแบบ ขั้นตอนที่ห้า คือ การถ่ายทอดความรู้ โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนากระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ให้กับกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และขั้นตอนสุดท้าย คือ การประเมินผล โดยนำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ มาศึกษาความพึงพอใจจากกลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา และผู้บริโภค เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามความต้องการด้านรูปแบบกระเป๋า และแบบสอบถามความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า ได้กระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ จำนวน 3 รูปแบบ คือ กระเป๋าสำหรับคล้องสะพายไหล่ กระเป๋าสำหรับถือและคล้องสะพายไหล่ และกระเป๋าสำหรับถือคล้องมือ ผลการถ่ายทอดความรู้การพัฒนารูปแบบกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ทำให้กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตัดเย็บกระเป๋ามากขึ้น ซึ่งจากการประเมินผลงาน พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 6.36 และกลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความพึงพอใจกระเป๋าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ รูปแบบที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เป็นลำดับที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 4.06 กล่าวคือ มีความเป็นไปได้ในการผลิตจริง และเหมาะสมกับสตรีวัยทำงาน มีความสะดวกในการหยิบหรือใส่สิ่งของ ใส่ของได้ปริมาณมากและหลากหลาย มีความคงทนแข็งแรงโครงสร้างและรูปทรงสวยงาม รูปแบบมีความทันสมัย
5050_‡aการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการย้อมสี -- กลุ่มทอผ้าบ้านสะพานพลา
650_7‡aสีย้อมและการย้อมสี‡xวิจัย
650_7‡aผ้าฝ้าย--วิจัย
850__‡aSKRU
8564_‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1383
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
192722746.6 ศ18กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
192735746.6 ศ18ก ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด