เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142064    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องพฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา : รายงานการวิจัย / ศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย พฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
 Information Resource Searching Behavior of OPAC Users: A Case Study of Students at Songkhla Rajabhat University
Dewey Call #025.04 ศ17พ
ผู้แต่งศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
หัวเรื่องการค้นข้อสนเทศ--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1376
ชื่อเรื่องพฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา : รายงานการวิจัย / ศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย พฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
 Information Resource Searching Behavior of OPAC Users: A Case Study of Students at Songkhla Rajabhat University
Dewey Call #025.04 ศ17พ
ผู้แต่งศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
พิมพลักษณ์สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เนื้อหาโอแพค -- การให้บริการโอแพคของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ -- พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
หมายเหตุการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมรวมถึงปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาโดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 400 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามชั้นปี นำผลวิจัยมาวิเคราะห์ด้วยการคำนวณร้อยละ ค่าความถี่ และความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 มากกว่าครึ่งหนึ่งใช้โอแพคเพื่อค้นหาทรัพยากรสารสนเทศประกอบการเรียน ขณะที่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 มากกว่าครึ่งหนึ่งใช้โอแพคเพื่อค้นหาทรัพยากรสารสนเทศประกอบการทำรายงาน/วิจัย ด้านวิธีเรียนรู้การใช้โอแพค พบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 4 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการเข้าอบรมกับห้องสมุด นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการเข้าเรียนในรายวิชา ส่วนนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง ด้านการกำหนดคำค้นและทางเลือกการสืบค้นพบว่านักศึกษาทุกชั้นปีเกือบทั้งหมดใช้คำค้นตรงกับเนื้อหาที่ต้องการและเลือกสืบค้นด้วยชื่อเรื่อง (คำสำคัญ) เมื่อประสบปัญหาระหว่างสืบค้นจะเปลี่ยนคำค้น หลังจากได้รับผลสืบค้นแล้วจะคัดกรองผลสืบค้นด้วยประเภทวัสดุ และสิ้นสุดการสืบค้น เมื่อได้รับทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงตามต้องการ นอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาทุกชั้นปีประสบปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพคนานๆ ครั้งใน 3 ด้าน คือ 1) ผู้ให้บริการและการให้บริการ 2) ด้านผู้ใช้บริการ และ 3)ด้านระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ ส่วนปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตพบว่า ประสบปัญหาด้านนี้บ่อยครั้ง เมื่อเปรียบเทียบปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค พบว่านักศึกษาชั้นปีต่างกันมีความถี่ในการประสบปัญหาการสืบค้นไม่แตกต่างกันใน 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านผู้ให้บริการ และการให้บริการ 2) ปัญหาด้านผู้ใช้บริการ และ 3) ปัญหาด้านระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศต่างจากปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่พบว่านักศึกษาชั้นปีต่างกันมีความถี่ในการประสบปัญหาด้านนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีแนวโน้มว่านักศึกษาชั้นปีที่ 4 ประสบปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบ่อยครั้งกว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1
หัวเรื่องการค้นข้อสนเทศ--วิจัย
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1376
ลักษณะทางกายภาพ108 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02923nam a2200217 4500
005 20250312184612.0
008 181002s2559 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a025.04‡bศ17พ
1000_‡aศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
24510‡aพฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา :‡bรายงานการวิจัย /‡cศรัญญา โรจนวงศ์ชัย
24630‡aรายงานการวิจัย พฤติกรรมการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
24631‡aInformation Resource Searching Behavior of OPAC Users: A Case Study of Students at Songkhla Rajabhat University
260__‡aสงขลา :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2559
300__‡a108 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมรวมถึงปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค (OPAC) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาโดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 400 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามชั้นปี นำผลวิจัยมาวิเคราะห์ด้วยการคำนวณร้อยละ ค่าความถี่ และความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 มากกว่าครึ่งหนึ่งใช้โอแพคเพื่อค้นหาทรัพยากรสารสนเทศประกอบการเรียน ขณะที่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 มากกว่าครึ่งหนึ่งใช้โอแพคเพื่อค้นหาทรัพยากรสารสนเทศประกอบการทำรายงาน/วิจัย ด้านวิธีเรียนรู้การใช้โอแพค พบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 4 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการเข้าอบรมกับห้องสมุด นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการเข้าเรียนในรายวิชา ส่วนนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง ด้านการกำหนดคำค้นและทางเลือกการสืบค้นพบว่านักศึกษาทุกชั้นปีเกือบทั้งหมดใช้คำค้นตรงกับเนื้อหาที่ต้องการและเลือกสืบค้นด้วยชื่อเรื่อง (คำสำคัญ) เมื่อประสบปัญหาระหว่างสืบค้นจะเปลี่ยนคำค้น หลังจากได้รับผลสืบค้นแล้วจะคัดกรองผลสืบค้นด้วยประเภทวัสดุ และสิ้นสุดการสืบค้น เมื่อได้รับทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงตามต้องการ นอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาทุกชั้นปีประสบปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพคนานๆ ครั้งใน 3 ด้าน คือ 1) ผู้ให้บริการและการให้บริการ 2) ด้านผู้ใช้บริการ และ 3)ด้านระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ ส่วนปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตพบว่า ประสบปัญหาด้านนี้บ่อยครั้ง เมื่อเปรียบเทียบปัญหาการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยโอแพค พบว่านักศึกษาชั้นปีต่างกันมีความถี่ในการประสบปัญหาการสืบค้นไม่แตกต่างกันใน 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านผู้ให้บริการ และการให้บริการ 2) ปัญหาด้านผู้ใช้บริการ และ 3) ปัญหาด้านระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศต่างจากปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่พบว่านักศึกษาชั้นปีต่างกันมีความถี่ในการประสบปัญหาด้านนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีแนวโน้มว่านักศึกษาชั้นปีที่ 4 ประสบปัญหาด้านอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบ่อยครั้งกว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1
5050_‡aโอแพค -- การให้บริการโอแพคของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ -- พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
650_7‡aการค้นข้อสนเทศ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
8564_‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1376
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
192740025.04 ศ17พวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
192741025.04 ศ17พ ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด