ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1142107
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ / เดชณรงค์ พรมสาย
Dewey Call #
731.4 ด52น
ผู้แต่ง
เดชณรงค์ พรมสาย
หัวเรื่อง
ประติมากรรม--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
ชื่อเรื่อง
นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ / เดชณรงค์ พรมสาย
Dewey Call #
731.4 ด52น
ผู้แต่ง
เดชณรงค์ พรมสาย
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เนื้อหา
อิทธิพลที่ได้รับจากธรรมชาติหรือสภาพแวดล้อมในชีวิต -- อิทธิพลที่ได้รับมาจากทฤษฎีและแนวคิดทางศิลปะ -- อิทธิพลจากผลงานศิลปกรรม
หมายเหตุ
ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ โปรแกรมวิชาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2559
การสรุปสาระสำคัญของการสร้างสรรค์ การศึกษาค้นคว้าในการปฏิบัติงานศิลปนิพนธ์ภายใต้หัวข้อเรื่อง นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ มีแนวคิดในการสร้างสรรค์ ที่นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับนกฮูก นกฮูกเป็นนกที่มีลักษณะที่แตกต่างจากนกจำพวกอื่น โดยที่นกประเภทนี้มีรูปทรงใบหน้าเป็นรูปหัวใจ ตาใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้านหน้าของหัว คอสั้น ปีกยาว หางค่อนข้างสั้น ขาและนิ้วแข็งแรง มีขนปกคลุมแข้งเกือบถึงนิ้ว ปลายนิ้วเป็นกรงเล็บ โดยกรงเล็บของนิ้วที่ 3 มีลักษณะหยักคล้ายซี่หวีทางด้านขอบด้านใน ทั้ง 2 เพศมีลักษณะเหมือนกัน แต่เพศเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยภาพลักษณ์ ความฉลาดรอบรู้ ของนกฮูกจะมีที่มาจากสายตาอันสุขุม ไม่หลุกหลิกของมัน นกส่วนใหญ่จะมีตาอยู่ด้านข้าง ทำให้มองหาอาหารและเห็นศัตรูได้รอบตัว แต่นกฮูกหากินเวลากลางคืน ตาจึงอยู่ด้านหน้าเพื่อประโยชน์ในการล่าเหยื่อ เพราะทำให้มองหาเหยื่อและกะระยะได้ดี ทั้งยังสามารถเห็นได้ในระยะไกล แต่นกฮูกไม่สามารถลอกตาไปมาได้ จึงต้องหมุนคอตามเวลาเป้าสายตาขยับหรือเคลื่อนที่ ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ วัตถุประสงค์ที่ข้าพเจ้าต้องการและปัญหาอุปสรรค์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดความคิดและความพยายามในการแก้ปัญหา ถึงแม้จะมีการถ่ายทอดเรื่องของนกฮูก ทำให้ข้าพเจ้ามีประสบการณ์ในการทำงานศิลปะอย่างมีแบบแผนมีระบบเป็นไปตามขั้นตอนและสามารถเอาประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในการคิดค้นและสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่มีประสิทธิภาพต่อไป ในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม ข้าพเจ้าได้นำเนื้อหาเรื่องราวของนกฮูกด้วยรูปทรงท่าทางและความโดดเด่นของตัวนกที่มีความแปลกจากนกชนิดอื่น เพราะมีลักษณะใบหน้าที่แปลกเพราะมีใบหน้าเป็นรูปทรงหัวใจ โดยนำเสนอผ่านรูปทรงกึ่งเหมือนจริงตัดท่อนไม่เอาขน โดยมีการจัดองค์ประกอบการตัดท่อนรูปทรงท่าทางเพิ่มเติม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความโดดเด่น อารมณ์ และท่าทางของตัวนก
หัวเรื่อง
ประติมากรรม--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
39 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
02383nam a2200193 4500
005
20181017112037.0
008
181017s2559 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a731.4‡bด52น
100
0_
‡aเดชณรงค์ พรมสาย
245
10
‡aนกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ /‡cเดชณรงค์ พรมสาย
260
__
‡aสงขลา :‡bคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2559
300
__
‡a39 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500
__
‡aศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ โปรแกรมวิชาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2559
502
__
‡aการสรุปสาระสำคัญของการสร้างสรรค์ การศึกษาค้นคว้าในการปฏิบัติงานศิลปนิพนธ์ภายใต้หัวข้อเรื่อง นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ มีแนวคิดในการสร้างสรรค์ ที่นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับนกฮูก นกฮูกเป็นนกที่มีลักษณะที่แตกต่างจากนกจำพวกอื่น โดยที่นกประเภทนี้มีรูปทรงใบหน้าเป็นรูปหัวใจ ตาใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้านหน้าของหัว คอสั้น ปีกยาว หางค่อนข้างสั้น ขาและนิ้วแข็งแรง มีขนปกคลุมแข้งเกือบถึงนิ้ว ปลายนิ้วเป็นกรงเล็บ โดยกรงเล็บของนิ้วที่ 3 มีลักษณะหยักคล้ายซี่หวีทางด้านขอบด้านใน ทั้ง 2 เพศมีลักษณะเหมือนกัน แต่เพศเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยภาพลักษณ์ ความฉลาดรอบรู้ ของนกฮูกจะมีที่มาจากสายตาอันสุขุม ไม่หลุกหลิกของมัน นกส่วนใหญ่จะมีตาอยู่ด้านข้าง ทำให้มองหาอาหารและเห็นศัตรูได้รอบตัว แต่นกฮูกหากินเวลากลางคืน ตาจึงอยู่ด้านหน้าเพื่อประโยชน์ในการล่าเหยื่อ เพราะทำให้มองหาเหยื่อและกะระยะได้ดี ทั้งยังสามารถเห็นได้ในระยะไกล แต่นกฮูกไม่สามารถลอกตาไปมาได้ จึงต้องหมุนคอตามเวลาเป้าสายตาขยับหรือเคลื่อนที่ ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ วัตถุประสงค์ที่ข้าพเจ้าต้องการและปัญหาอุปสรรค์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดความคิดและความพยายามในการแก้ปัญหา ถึงแม้จะมีการถ่ายทอดเรื่องของนกฮูก ทำให้ข้าพเจ้ามีประสบการณ์ในการทำงานศิลปะอย่างมีแบบแผนมีระบบเป็นไปตามขั้นตอนและสามารถเอาประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในการคิดค้นและสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่มีประสิทธิภาพต่อไป ในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม ข้าพเจ้าได้นำเนื้อหาเรื่องราวของนกฮูกด้วยรูปทรงท่าทางและความโดดเด่นของตัวนกที่มีความแปลกจากนกชนิดอื่น เพราะมีลักษณะใบหน้าที่แปลกเพราะมีใบหน้าเป็นรูปทรงหัวใจ โดยนำเสนอผ่านรูปทรงกึ่งเหมือนจริงตัดท่อนไม่เอาขน โดยมีการจัดองค์ประกอบการตัดท่อนรูปทรงท่าทางเพิ่มเติม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความโดดเด่น อารมณ์ และท่าทางของตัวนก
505
0_
‡aอิทธิพลที่ได้รับจากธรรมชาติหรือสภาพแวดล้อมในชีวิต -- อิทธิพลที่ได้รับมาจากทฤษฎีและแนวคิดทางศิลปะ -- อิทธิพลจากผลงานศิลปกรรม
650
_7
‡aประติมากรรม--วิจัย
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
192753
731.4 ด52น
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
เดชณรงค์ พรมสาย. (2559).
นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ .
สงขลา :คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
เดชณรงค์ พรมสาย.
นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ .
สงขลา :คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
เดชณรงค์ พรมสาย. 2559.
นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ .
สงขลา :คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
เดชณรงค์ พรมสาย. นกฮูกสัญลักษณ์แห่งความฉลาดรอบรู้ . สงขลา :คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา; 2559.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
83
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.