เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142458    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องจินตนาการในห้วงเวลาของความสุข / กมลทิพย์ ชุมศรี
Dewey Call #769 ก16จ
ผู้แต่งกมลทิพย์ ชุมศรี
หัวเรื่องภาพพิมพ์--วิจัย
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
ชื่อเรื่องจินตนาการในห้วงเวลาของความสุข / กมลทิพย์ ชุมศรี
Dewey Call #769 ก16จ
ผู้แต่งกมลทิพย์ ชุมศรี
พิมพลักษณ์สงขลา : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2559
เนื้อหาอิทธิพลที่ได้รับจากธรรมชาติและสภาพแวดล้อม -- อิทธิพลที่ได้รับจากทฤษฎีแนวคิดทางศิลปะ -- อิทธิพลจากผลงานศิลปกรรม
หมายเหตุศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ โปรแกรมวิชาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2559
 การศึกษาโครงการภาพพิมพ์ เรื่อง "จินตนาการในห้วงเวลาของความสุข" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวความทรงจำบนท้องฟ้า ที่อารมณ์ของความรู้สึกสนุกสนานของโลกในจินตนาการ ที่มีประทับใจโนโลกของจินตนาการบนท้องฟ้า เพื่อสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบใหม่เพื่อสะท้อนถึงความคิด จินตนาการ ในรูปแบบกึ่งนามธรรม ขอบเขตของการศึกษาแบ่งออกได้ 3 ประการ ได้แก่ เพื่อที่จะสื่อรูปแบบในการสร้างสรรค์ผลงานออกไปทางจินตาการ และในเรื่องขององค์ประกอบทางศิลปะ สามารถเห็นคล้ายใบหน้าคน สัตว์ หรืออะไรก็ตามที่อยู่ในความทรงจำอันคุ้นเคย ซึ่งภาพที่เห็นเหล่านี้ก็มาจากการปรุงแต่งของสมองบวกกับจินตนาการ อารมณ์และความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละบุคคลนั่นเอง ด้านรูปแบบเกิดจากการสร้างสรรค์ผลงานในเรื่องของความคิด จินตนาการ อารมณ์ และความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป อาจจะทำให้การมองเห็นภาพเหล่านั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามลักษณะที่แตกต่าง เนื่องจากจินตนาการของแต่ละคนจะมองเห็นเป็นรูปอะไรก็ได้ ซึ่งจินตาการไม่มีขอบเขต การมองเห็นเป็นรูปอะไร ขึ้นอยู่กับสภาพทางจิตวิทยาด้วย บางคนคุ้นเคยกับสิ่งที่หดหู่น่ากลัว ก็อาจมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์ร้ายหรือสิ่งที่น่ากลัวหรือบางคนมีความสุขใจก็จะมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์ร้ายหรือสิ่งที่น่ากลัวหรือบางคนมีความสุขใจก็จะมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์หรือสิ่งที่น่ารักสวยงาม แล้วแต่จินตนาการและความเป็นอิสระของแต่ละคน โดยวิธีการทางภาพพิมพ์แกะไม้ผ่านรูปทรงกึ่งนามธรรม และด้านเทคนิค ลงภาคสนามจากนั้นได้รูปมาแล้ว นำมาปรับโหมดในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทำออกมาเป็นภาพร่างผลงานที่สำเร็จนำเสนอหรือส่งอาจารย์ เพื่อทำเป็นชิ้นงานออกมาในกระบวนการเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) สรุปผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปนิพนธ์พบว่า การนำเสนออารมณ์ความรู้สึก จินตนาการด้วยการจัดองค์ประกอบของภาพให้มีจุดเด่น ด้วยรูปร่าง รูปทรงของแบบฟอร์มก้อนเมฆนำเสนอจินตนาการและนำเสนออารมณ์ความสนุกสนานที่อยู่บนท้องฟ้า โดยเน้นการใช้สีสัน การไล่ค่าน้ำหนัก รูปร่าง รูปทรงของก้อนเมฆ ในรูปแบบกึ่งนามธรรม ด้วยเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้
หัวเรื่องภาพพิมพ์--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ49 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02547nam a2200193 4500
005 20190102143007.0
008 190102s2559 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a769‡bก16จ
1000_‡aกมลทิพย์ ชุมศรี
24510‡aจินตนาการในห้วงเวลาของความสุข /‡cกมลทิพย์ ชุมศรี
260__‡aสงขลา :‡bคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2559
300__‡a49 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ โปรแกรมวิชาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2559
502__‡aการศึกษาโครงการภาพพิมพ์ เรื่อง "จินตนาการในห้วงเวลาของความสุข" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวความทรงจำบนท้องฟ้า ที่อารมณ์ของความรู้สึกสนุกสนานของโลกในจินตนาการ ที่มีประทับใจโนโลกของจินตนาการบนท้องฟ้า เพื่อสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบใหม่เพื่อสะท้อนถึงความคิด จินตนาการ ในรูปแบบกึ่งนามธรรม ขอบเขตของการศึกษาแบ่งออกได้ 3 ประการ ได้แก่ เพื่อที่จะสื่อรูปแบบในการสร้างสรรค์ผลงานออกไปทางจินตาการ และในเรื่องขององค์ประกอบทางศิลปะ สามารถเห็นคล้ายใบหน้าคน สัตว์ หรืออะไรก็ตามที่อยู่ในความทรงจำอันคุ้นเคย ซึ่งภาพที่เห็นเหล่านี้ก็มาจากการปรุงแต่งของสมองบวกกับจินตนาการ อารมณ์และความรู้สึกส่วนตัวของแต่ละบุคคลนั่นเอง ด้านรูปแบบเกิดจากการสร้างสรรค์ผลงานในเรื่องของความคิด จินตนาการ อารมณ์ และความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป อาจจะทำให้การมองเห็นภาพเหล่านั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามลักษณะที่แตกต่าง เนื่องจากจินตนาการของแต่ละคนจะมองเห็นเป็นรูปอะไรก็ได้ ซึ่งจินตาการไม่มีขอบเขต การมองเห็นเป็นรูปอะไร ขึ้นอยู่กับสภาพทางจิตวิทยาด้วย บางคนคุ้นเคยกับสิ่งที่หดหู่น่ากลัว ก็อาจมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์ร้ายหรือสิ่งที่น่ากลัวหรือบางคนมีความสุขใจก็จะมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์ร้ายหรือสิ่งที่น่ากลัวหรือบางคนมีความสุขใจก็จะมองเห็นก้อนเมฆเป็นสัตว์หรือสิ่งที่น่ารักสวยงาม แล้วแต่จินตนาการและความเป็นอิสระของแต่ละคน โดยวิธีการทางภาพพิมพ์แกะไม้ผ่านรูปทรงกึ่งนามธรรม และด้านเทคนิค ลงภาคสนามจากนั้นได้รูปมาแล้ว นำมาปรับโหมดในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทำออกมาเป็นภาพร่างผลงานที่สำเร็จนำเสนอหรือส่งอาจารย์ เพื่อทำเป็นชิ้นงานออกมาในกระบวนการเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) สรุปผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปนิพนธ์พบว่า การนำเสนออารมณ์ความรู้สึก จินตนาการด้วยการจัดองค์ประกอบของภาพให้มีจุดเด่น ด้วยรูปร่าง รูปทรงของแบบฟอร์มก้อนเมฆนำเสนอจินตนาการและนำเสนออารมณ์ความสนุกสนานที่อยู่บนท้องฟ้า โดยเน้นการใช้สีสัน การไล่ค่าน้ำหนัก รูปร่าง รูปทรงของก้อนเมฆ ในรูปแบบกึ่งนามธรรม ด้วยเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้
5050_‡aอิทธิพลที่ได้รับจากธรรมชาติและสภาพแวดล้อม -- อิทธิพลที่ได้รับจากทฤษฎีแนวคิดทางศิลปะ -- อิทธิพลจากผลงานศิลปกรรม
650_7‡aภาพพิมพ์‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
193217769 ก16จวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด