เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142729    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องบันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง : รายงานการวิจัย / ทองไมย์ เทพราม
ชื่อเรื่องRecord of story from traces city by found object
 รายงานการวิจัย บันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง
Dewey Call #750 ท19บ
ผู้แต่งทองไมย์ เทพราม
หัวเรื่องจิตรกรรมสื่อผสม--วิจัย
 ภาพพิมพ์--วิจัย
 จิตรกรรมร่วมสมัย
พิมพลักษณ์นครราชสีมา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2561
ชื่อเรื่องบันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง : รายงานการวิจัย / ทองไมย์ เทพราม
ชื่อเรื่องRecord of story from traces city by found object
 รายงานการวิจัย บันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง
Dewey Call #750 ท19บ
ผู้แต่งทองไมย์ เทพราม
พิมพลักษณ์นครราชสีมา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2561
หมายเหตุได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2560
หัวเรื่องจิตรกรรมสื่อผสม--วิจัย
 ภาพพิมพ์--วิจัย
 จิตรกรรมร่วมสมัย
ลักษณะทางกายภาพ83 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03209nam a2200229 4500
005 20190308095531.0
008 190308s2561 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a750‡bท19บ
1000_‡aทองไมย์ เทพราม
24510‡aบันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง :‡bรายงานการวิจัย /‡cทองไมย์ เทพราม
24631‡aRecord of story from traces city by found object
24630‡aรายงานการวิจัย บันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง
260__‡aนครราชสีมา :‡bคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา,‡c2561
300__‡a83 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2560
5203_‡aบันทึกเรื่องราวจากร่องรอยสังคมเมืองโดยวัสดุทอดทิ้ง เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ ประเภทจิตรกรรม รูปแบบเหมือนจริง โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมเชิงวิชาการประเภทจิตรกรรมสื่อผสม โดยศึกษาทดลองนำมาวัสดุทอดทิ้งมาสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม 2) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรม และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสู่สาธารณชน ซึ่งการสร้างสรรค์ผลงานครั้งนี้ประกอบด้วยผลงานทั้งหมด 7 ชิ้น มีแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน คือ การนำวัสดุทอดทิ้งมาสร้างผลงานจิตรกรรมเพื่อสะท้อนผลเสียที่เกิดกับสิ่งมีชีวิตในบริบทแวดล้อม สังคมเมือง จากปัญหาขยะ มีระเบียบวิธีดำเนินการวิจัยโดยการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล ภาคสนาม การศึกษาจากบทความวิชาการ ข้อมูลข่าวสารและผลงานศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาวิเคราะห์และทดลองกระบวนการจัดการกับวัสดุทอดทิ้งแต่ละชนิด เพื่อค้นหาเทคนิคกลวิธีและรูปแบบใหม่ๆ ในการสรางสรรค์ผลงานจิตรกรรม ผลการวิจัยพบว่า วัสดุทอดทิ้งที่สามารถนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานจิตรกรรมชุดนี้ ได้แก่ ถุงพลาสติก ทั้งแบบโปร่งใส และแบบมีสีสัน กระป๋องทีมีความอ่อนของเนื้อวัสดุ เศษผ้าเก่าๆ ทั้งผ้าที่เป็นสีพื้น ผ้าที่มีลอดลาย และผ้าที่เป็นขน รวมถึงวัสดุทอดทิ้งชนิดอื่นที่สามารถปะติดด้วยกาวลาเท็กซ์ได้ จากการทดลองและแก้ปัญหาในกระบวนการการสร้างสรรค์สามารถวิเคราะห์และแยกแยะพัฒนาการสร้างสรรค์ออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ ด้านเรื่องราวและเนื้อหา ผู้วิจัยใช้รูปทรงของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริบทสังคมเมือง ซึ่งได้รับผลกระทบ โดยตรงจากปัญหาขยะ ไดแก่ รูปทรงสุนัขจรจัด แมว หนูท่อ นกพิราบ และนกกระจอก มาเป็นรูปทรงหลักที่แสดงออกถึงเรื่องราวของชีวิตในบริบทสังคมเมืองและเนื้อหาทางศิลปะที่แสดงสภาวะความเสื่อมสลายของชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมเป็นพิษด้านเทคนิคกลวิธีในการสร้างสรรค์ ได้ใช้กระบวนการจัดการกับวัสดุทอดทิ้งแต่ละประเภทแตกต่างกัน ได้แก่ ถุงพลาสติก ใช้วิธีการปะติดด้วยกาวลาเท็กซ์ และสร้างรอยเหี่ยวย่นของผิวหนังด้วยมือและความร้อนจากไดเป่าความร้อน วัสดุประเภทประป๋อง ใช้วิธีการปะติดด้วยกาวร้อนและสร้างพื้นผิวร่องลึกด้วยการเจาะ การขูดด้วย เหล็กปลายแหลม และสร้างมิติด้วยการอุดหมึกลงในร่องลึกแล้วเช็ดหมึกออก วัสดุทอดทิ้งประเภทเศษผ้า และวัสดุทอดทิ้งชนิดอื่น ใช้การเจาะ และฉีกให้เกิดรูและรอยขาดด้วยกรรไกรและเหล็กปลายแหลม และปะติดด้วยกาวลาเท็กซ์ ด้านรูปแบบ จากการทดลองและพัฒนาด้านเทคนิคกลวิธีในการสร้างสรรค์ ที่มุ่งเน้นการปะดวัสดุให้มีความนูนหนาและทีการทับซ้อนหลายชั้น ทำให้ลักษณะรูปแบบของผลงานจิตรกรรมที่มีความแบนเรียบความสร้างมิติความลึกด้วยน้ำหนักจากการระบายสี ได้พัฒนามาเป็นรูปแบบผลงานจิตรกรรมที่มีความนูนหนาเป็นวัตถุมากขึ้น
650_7‡aจิตรกรรมสื่อผสม‡xวิจัย
650_7‡aภาพพิมพ์‡xวิจัย
650_7‡aจิตรกรรมร่วมสมัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
193856750 ท19บวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด