เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142744    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช : รายงานฉบับสมบูรณ์ / อัญชสา สีนวนแก้ว...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องModel to develop management suideline to improve the efficiency of community enterprise in Nakhon Si Thammarat from improving to be good
 รายงานฉบับสมบูรณ์ ต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช
Dewey Call #338.642 ต15
ผู้แต่งเพิ่มเติมอัญชสา สีนวนแก้ว
 จุไรรัตน์ รัตติโชติ
 พงศ์ศักดิ์ สังขภิญโญ
 จำเนียร นาคแก้ว
หัวเรื่องวิสาหกิจชุมชน--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.), 2560
ชื่อเรื่องต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช : รายงานฉบับสมบูรณ์ / อัญชสา สีนวนแก้ว...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องModel to develop management suideline to improve the efficiency of community enterprise in Nakhon Si Thammarat from improving to be good
 รายงานฉบับสมบูรณ์ ต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช
Dewey Call #338.642 ต15
ผู้แต่งเพิ่มเติมอัญชสา สีนวนแก้ว
 จุไรรัตน์ รัตติโชติ
 พงศ์ศักดิ์ สังขภิญโญ
 จำเนียร นาคแก้ว
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.), 2560
หัวเรื่องวิสาหกิจชุมชน--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ409 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04227nam a2200229 4500
005 20190809144440.0
008 190312s2560 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.642‡bต15
24500‡aต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช :‡bรายงานฉบับสมบูรณ์ /‡cอัญชสา สีนวนแก้ว...[และคนอื่นๆ]
24631‡aModel to develop management suideline to improve the efficiency of community enterprise in Nakhon Si Thammarat from improving to be good
24630‡aรายงานฉบับสมบูรณ์ ต้นแบบการดำเนินงานการสร้างแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนจากระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.),‡c2560
300__‡a409 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย 3 ประการ คือ 1)เพื่อศึกษาสภาพปัจจจุบันการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศีกษาปัจจัยเอื้อและขัดขวางต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการของวิสาหกิจชุมชน และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบแนวทางการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณจำนวนกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพจำนวน 45 คน ได้แก่ ประธาน กรรมการ และสมาชิกของวิสาหกิจชุมชนทั้ง 3 ระดับๆ ละ 3 แห่งๆ ละ 5 คน ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณมีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มที่หนึ่ง ประธาน กรรมการ และสมาชิกของวิสาหกิจชุมชนทั้ง 3 ระดับ จำนวนทั้งสิ้น 47 แห่ง แบ่งเป็น ระดับดี 9 แห่ง ระดับปานกลาง 23 แห่ง และระดับปรับปรุง 15 แห่งๆ ละ5 คน รวม 235 คน กลุ่มที่สอง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน เพื่อประเมินรูปแบบแนวทางการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงสู่ระดับดี ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถาม และสนทนากลุ่ม สำหรับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการใช้สถิติขั้นสูงในการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องหรือค่า IOS จากแบบประเมินรูปแบบแนวทางการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงสู่ระดับดี ผลการวิจัยพบว่า1. สภาพปัจจุบันการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราชพบว่า 1) กระบวนการการดำเนินงานที่ไม่มีศักยภาพด้านการบริหารองค์กร การผลิต การตลาด และด้านการเงินและบัญชี และ 2) ผลลัพธ์ตามภารกิจของวิสาหกิจชุมชน พบว่าไม่มีการลดรายจ่ายในการดำเนินกิจการ ไม่มีการเพิ่มรายได้ของสมาชิกวิสาหกิจ ไม่ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คุณภาพสินค้าหรือบริการไม่มีมาตรฐานรองรับ ไม่สามารถลดความผิดพลาดและการสูญเสียในการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ของวิสาหกิจชุมชนได้ทั้งหมด2.ปัจจัยเอื้อและขัดขวางต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการของวิสหกิจชุมชน พบว่าปัจจัยเอื้อที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ได้แก่ 1) การนำแนวคิดองค์กรชาวบ้านมาผสมผสานกับการบริหารจัดการ 2) นำแนวคิดห่วงโซ่คุณค่าประกอบการดำเนินงาน และ 3) ศักยภาพของชุมชน ด้านทุนธรรมชาติ ทุนมนุษย์ และทุนทางสังคม ส่วนปัจจัยขัดขวาง ได้แก่ ไม่มีการนำแนวคิดด้านองค์กรชาวบ้าน ห่วงโซ่คุณค่า มาสู่การประกอบการดำเนินงาน ไม่มีความพร้อมด้านศักยภาพของชุมชนและสภาพทางเศรษฐกิจบีบรัดที่มีมาจากราคาผลผลิตตกต่ำ เช่าพื้นที่ทำนา ต้นทุนสูง ความผันผวนของราคา ถูกเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง3. รูปแบบแนวทางการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในระดับปรับปรุงสู่ระดับดีของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่ามีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ประกอบด้วย 1) บริบท เป็นปัจจัยนำเข้าที่จะส่งผลต่อการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน ได้แก่สภาพทั่วไปของวิสาหกิจชุมชน และการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 2) กระบวนการจัดการสู่ความสำเร็จในการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน ซึ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน การกำหนดกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์มาสู่การปฏิบัติ และแนวทางการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนมีองค์ประกอบย่อย คือ การจัดการองค์กร การวางแผนและการประสานงาน ทั้งนี้การบริหารจัดการจะประสบความสำเร็จขึ้นอยู่กับปัจจัยเอื้อเกี่ยวกับองค์กรชาวบ้าน ห่วงโซ่คุณค่าและศักยภาพชุมชน และ 3) ผลการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน ซึ่งรวมถึงผลผลิต ผลลัพธ์และผลสืบเนื่องจากการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเข้าด้วยกัน
650_7‡aวิสาหกิจชุมชน‡xวิจัย
7000_‡aอัญชสา สีนวนแก้ว
7000_‡aจุไรรัตน์ รัตติโชติ
7000_‡aพงศ์ศักดิ์ สังขภิญโญ
7000_‡aจำเนียร นาคแก้ว
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
193844338.642 ต15วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
194289338.642 ต15 ฉ.2วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด