เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142745    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องรูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล / ปิยะนุช พรประสิทธิ์
ชื่อเรื่องA Model of Community Leader Development in Eco-tourism Management in Satun Province
 รูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล
Dewey Call #338.4791 ป36ร 2560
ผู้แต่งปิยะนุช พรประสิทธิ์
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์--วิทยานิพนธ์
 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ--สตูล--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2560
ชื่อเรื่องรูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล / ปิยะนุช พรประสิทธิ์
ชื่อเรื่องA Model of Community Leader Development in Eco-tourism Management in Satun Province
 รูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล
Dewey Call #338.4791 ป36ร 2560
ผู้แต่งปิยะนุช พรประสิทธิ์
พิมพลักษณ์ 2560
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (สาขาวิชาการจัดการ)) -- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2560
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์--วิทยานิพนธ์
 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ--สตูล--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-14], 422 แผ่น
LDR 03047nam a2200217 4500
005 20230703100226.0
008 190313s2560 th ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bป36ร 2560
1000_‡aปิยะนุช พรประสิทธิ์
24510‡aรูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล /‡cปิยะนุช พรประสิทธิ์
24631‡aA Model of Community Leader Development in Eco-tourism Management in Satun Province
24630‡aรูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดสตูล
260__‡c2560
300__‡a[1-14], 422 แผ่น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (สาขาวิชาการจัดการ)) -- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2560
5203_‡aการวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน จังหวัดสตูล 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน จังหวัดสตูล และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน จังหวัดสตูล กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 400 คน และชาวต่างชาติ จำนวน 130 คน ในขั้นตอนการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 50 คน ในขั้นตอนการวิจัยเชิงคุณภาพ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ในขั้นตอนการประเมินรูปแบบฯผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบทั้ง 4 ด้านของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยชุมชนที่ถูกประเมินโดยนักท่องเที่ยว ถึงแม้ว่าด้านพื้นที่มีสิ่งดึงดูดที่โดดเด่นทั้งวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ แต่พบปัญหาต่าง ๆ ในด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมด้านกระบวนการเรียนรู้และด้านการมีส่วนร่วม 2. ผู้นำชุมชนมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนให้บรรลุความสำเร็จ แต่ผู้นำชุมชนยังแสดงบทบาทน้อยในการกำหนดวิสัยทัศน์ การจัดทำแผนการดำเนินงาน การกำหนดกฎ ระเบียบต่าง ๆ ในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน และการชี้แจงจุดมุ่งหมายของการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน นอกจากนั้นผู้นำชุมชนควรมีคุณลักษณะที่เฉพาะ ดังนั้น ผู้นำชุมชนควรได้รับการพัฒนาบุคลิกภาพ ความรู้ เจตคติ และทักษะ เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานด้านการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน และ 3. ระเบียบวิธีวิจัยทฤษฎีฐานรากถูกใช้ในการสร้างแบบจำลองทางความคิดของการพัฒนาผู้นำชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน จังหวัดสตูล ซึ่งรูปแบบได้รับการประเมินความเหมาะสมจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สรุป รูปแบบฯ ประกอบด้วย (1) ตัวป้อน คือ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนและการพัฒนาผู้นำชุมชน (2) กระบวนการ คือ การเรียนรู้จากการปฏิบัติ ประกอบด้วย 4 โมดูล ได้แก่ การสร้างความพร้อมผู้นำชุมชน การฝึกการวางแผนกลยุทธ์การฝึกการออกแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนากลยุทธ์เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมสำหรับการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน (3) ผลผลิต คือ การพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดีขึ้นของผู้นำชุมชน (4) ข้อมูลย้อนกลับ คือ ผลของการประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบและผู้นำชุมชนสุดท้าย (5) ผลลัพธ์ คือ การเพิ่มขึ้นของศักยภาพของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนและจำนวนนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
61027‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์‡xวิทยานิพนธ์
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ‡zสตูล‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
192896338.4791 ป36ร 2560วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด