เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1142746    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างความไม่แน่นอนในงาน การมีส่วนร่วม การใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานและผลการดำเนินงานของผู้บริหาร ในโรงพยาบาลรัฐในภาคใต้ของประเทศ / สุวิมล บัวทอง
ชื่อเรื่องLinking Task Uncertainty, Participacion, Use of Performance Measures and Managerial Performance in Public Hospitals Located in Southern Thailand
Dewey Call #610.6 ส47ค 2556
ผู้แต่งสุวิมล บัวทอง
หัวเรื่องโรงพยาบาลสงขลานครินทร์--การบริหาร--วิจัย
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์--วิทยานิพนธ์
 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์--บริการทางการแพทย์--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2560
ชื่อเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างความไม่แน่นอนในงาน การมีส่วนร่วม การใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานและผลการดำเนินงานของผู้บริหาร ในโรงพยาบาลรัฐในภาคใต้ของประเทศ / สุวิมล บัวทอง
ชื่อเรื่องLinking Task Uncertainty, Participacion, Use of Performance Measures and Managerial Performance in Public Hospitals Located in Southern Thailand
Dewey Call #610.6 ส47ค 2556
ผู้แต่งสุวิมล บัวทอง
พิมพลักษณ์ 2560
หมายเหตุปรัชญาดุษฎีบันฑิต (ปร.ก.(สาขาวิชาการจัดการ)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2560
หัวเรื่องโรงพยาบาลสงขลานครินทร์--การบริหาร--วิจัย
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์--วิทยานิพนธ์
 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์--บริการทางการแพทย์--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-14], 178 แผ่น
LDR 02672nam a2200217 4500
005 20230525144701.0
008 190313s2560 th ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a610.6‡bส47ค 2556
1000_‡aสุวิมล บัวทอง
24510‡aความเชื่อมโยงระหว่างความไม่แน่นอนในงาน การมีส่วนร่วม การใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานและผลการดำเนินงานของผู้บริหาร ในโรงพยาบาลรัฐในภาคใต้ของประเทศ /‡cสุวิมล บัวทอง
24631‡aLinking Task Uncertainty, Participacion, Use of Performance Measures and Managerial Performance in Public Hospitals Located in Southern Thailand
260__‡c2560
300__‡a[1-14], 178 แผ่น
502__‡aปรัชญาดุษฎีบันฑิต (ปร.ก.(สาขาวิชาการจัดการ)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2560
5203_‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความไม่แน่นอนในงานกับการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน 2) ศึกษาความสัมพันธ์ะหว่างวการมีส่วนร่วมกับการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินกับผลการดำเนินงานของผู้บริหารการวิจัยในครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารระดับกลางในโรงพยาบาลรัฐ ในภาคใต้ของประเทศไทย จำนวน 14 แห่ง โดยการใช้แบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ไปยังผู้บริหารระดับกลางของแผนกต่างๆ จำนวน 770 ท่าน ได้รับการตอบกลับมาและสามารถใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 340 ชุด คิดเป็นร้อยละ 44.16 การวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้างผลการศึกษาพบว่า ความไม่แน่นอนในงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ทางการเงิน ด้านผู้ป่วย นอกจากนี้ ยังพบว่าการมีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงานความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน ได้แก่ ด้านผู้ป่วย ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และเติบโต ตามแนวคิดของการวัดผลกาตรดำเนินงานแบบสมดุล ผลการศึกษายังพบอีกว่าการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน คือ ด้านผู้ป่วย และด้านการเรียนรู้และเติบโต มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับผลการดำเนินงานของผู้บริหารดังนั้น เมื่อผู้บริหารระดับกลางในโรงพยาบาลรัฐเผชิญกับความไม่แน่น่อนในงาน ก็ควรใช้ตัวชี้วัดด้านผู้ป่วยมากขึ้น และนอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูงควรอนุญาตให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนิน เพื่อนำไปสู่การยอมรับและการรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ทำให้มีการใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานด้านต่างๆ มากขึ้น ซึ่งการใช้ตัวชี้วัดทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินด้านผู้ป่วย และด้านการเรียนรู้เติบโต จะช่วยให้ผู้บริหารมีข้อมูลย้อนกลับที่เพียงพอและเข้าใจสถานการณการดำเนินงานมากขึ้น ทำให้ผู้บริหารมีการตัดสินใจที่เหมาะสม และมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น
61027‡aโรงพยาบาลสงขลานครินทร์‡xการบริหาร‡xวิจัย
61027‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์‡xวิทยานิพนธ์
61027‡aโรงพยาบาลสงขลานครินทร์‡xบริการทางการแพทย์‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
193484610.6 ส47ค 2556วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด