เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1145421    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4Rร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่น/ สมหมาย เพ็งแก้ว
Dewey Call #420.04843 ส16ก 2561
ผู้แต่งสมหมาย เพ็งแก้ว
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา--วิทยานิพนธ์
 ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน(มัธยมศึกษา)--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2561
ชื่อเรื่องการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4Rร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่น/ สมหมาย เพ็งแก้ว
Dewey Call #420.04843 ส16ก 2561
ผู้แต่งสมหมาย เพ็งแก้ว
พิมพลักษณ์ 2561
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2561
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา--วิทยานิพนธ์
 ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน(มัธยมศึกษา)--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-8], 144 แผ่น
LDR 01874nam a2200193 4500
005 20201222135119.0
008 201209s2561 th m ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a420.04843‡bส16ก 2561
1000_‡aสมหมาย เพ็งแก้ว
24510‡aการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการอ่านแบบ SQ4Rร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่น/‡cสมหมาย เพ็งแก้ว
260__‡c2561
300__‡a[1-8], 144 แผ่น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,2561
520__‡aการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษษอังกฤษก่อนและหลังเรียนโดยใช้วิธีอ่านแบบSQ4R ร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3และ2)ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อวิธีการอ่านแบบSQ4R ร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 1ห้องเรียนนักเรียนจำนวน 28 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แผนการจัดการเรียนรู้วิธีการแบบSQ4Rร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่น 2) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษอังกฤษและ 3)แบบทดสอบความพึงพอใจต่อวิธีการอ่านแบบSQ4Rร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน และค่าการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1)ความสามารถในการออ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนโดยใช้วิธีการอ่านแบบSQ4R ร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2)ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อวิธีการอ่านแบบSQ4R ร่วมกับเนื้อหาบริบทท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก
61027‡aมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา‡xวิทยานิพนธ์
650_7‡aภาษาอังกฤษ‡xการศึกษาและการสอน(มัธยมศึกษา)‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
197506420.04843 ส16ก 2561วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
197507420.04843 ส16ก 2561 ฉ.2วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด