เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1145591    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นงเยาว์ เนาวรัตน์...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ
 Multiculturl education curriculum development for early childhood education in periheral areas
Dewey Call #370.117 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมนงเยาว์ เนาวรัตน์
 นันท์นภัส แสงฮอง
 ทองเหรียญ อินต๊ะพิงค์
 วสันต์ สรรพสุข
 พิสิษฏ์ นาสี
 ธนพงษ์ หมื่นแสน
 ชลียา ทาแกง
 ไพศาล ขัติธื
หัวเรื่องการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม--วิจัย
 การศึกษาปฐมวัย--วิจัย
พิมพลักษณ์เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562
ชื่อเรื่องการพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นงเยาว์ เนาวรัตน์...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ
 Multiculturl education curriculum development for early childhood education in periheral areas
Dewey Call #370.117 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมนงเยาว์ เนาวรัตน์
 นันท์นภัส แสงฮอง
 ทองเหรียญ อินต๊ะพิงค์
 วสันต์ สรรพสุข
 พิสิษฏ์ นาสี
 ธนพงษ์ หมื่นแสน
 ชลียา ทาแกง
 ไพศาล ขัติธื
พิมพลักษณ์เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562
เนื้อหาแนวคิดพหุวัฒนธรรมศึกษา : โรงเรียนพื้นที่ทางวัฒนธรรม -- กรอบหลักสูตรในกระบวนทัศน์พหุวัฒนธรรม -- แนวคิดการศึกษาปฐมวัย -- การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการประสบการณ์การเรียนรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย -- ครูในฐานะผู้ทำงานทางวัฒนธรรมและผู้นำการเปลี่ยนแปลง
หมายเหตุได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ.2562
หัวเรื่องการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม--วิจัย
 การศึกษาปฐมวัย--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ฐ], 254 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04220nam a2200313 4500
005 20210115105126.0
008 210112s2562 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a370.117‡bก27
24500‡aการพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ :‡bรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cนงเยาว์ เนาวรัตน์...[และคนอื่นๆ]
24630‡aรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ
24631‡aMulticulturl education curriculum development for early childhood education in periheral areas
260__‡aเชียงใหม่ :‡bสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,‡c2562
300__‡a[ก-ฐ], 254 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ.2562
5052_‡aแนวคิดพหุวัฒนธรรมศึกษา : โรงเรียนพื้นที่ทางวัฒนธรรม -- กรอบหลักสูตรในกระบวนทัศน์พหุวัฒนธรรม -- แนวคิดการศึกษาปฐมวัย -- การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการประสบการณ์การเรียนรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย -- ครูในฐานะผู้ทำงานทางวัฒนธรรมและผู้นำการเปลี่ยนแปลง
520__‡aโครงการวิจัยรื่อง "การพัฒนาหลักสูตรพหวัฒนธรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ" นั้นได้พัฒนาโจทย์วิจัย เพื่อศึกษาและเปลี่ยนแปลงวิถีการพัฒนพลมืองของประเทศวัยเยาว์ในยุคโลกาภิวัตน์ ปัจจุบันสังคมไทยทุกมิติกำลังเผชิญกับความแตกต่างหลากหลายอย่างเข้มขันทวีคูณ และมีแนวโน้มนำไปสู่การแบ่งพรรคแบ่งพวก และความขัดแย้งทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ศาสนา และวิธีคิดทางการเมือง ในสภาวะการณ์นี้ การศึกษาระดับปฐมวัยจึงเป็นพื้นที่ช่วงชิงการสร้างระบบคุณค่า พหุวัฒนธรรมและพหวัฒนธรมศึกษา โครงการวิจัยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา สถานภาพของหลักสูตรและการจัตประสบการณ์การเรียนรู้ต้านพหวัฒนธรรมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ 2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรมศึกษาสำหรับเต็กปฐมวัยในพื้นที่ชายขอบ 3) เพื่อจัดทำคู่มือและสื่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ค้นพหุวัฒนธรมศึกษาสำหรับเด็ก โครงการวิจัยนี้ได้ประยุกต์วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วม (Participation Action Research-PAR) และใช้เทคนิคแบบเจาะจง (Purposive Techเป้าหมาย ทั้งนี้ เพื่อให้ได้พื้นที่ศึกษาสอดคล้องกับแนวคิดและวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย โดยได้เลือกพื้นที่วิจัยเป็นโรงเรียนอนุบาลสังกัดเทศบาลจำนวน 3 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในบริบทพื้นที่ชายขอบลักษณะต่าง ๆ ในภาคเหนือของประเทศไทย พื้นที่วิจัยทั้ง 3 แห่ง สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท. หนึ่งแห่งตั้งอยู่ชายขอบเมืองเซียงใหม่ หนึ่งแห่งตั้งอยู่ชายแดนระหว่างไทย-สปป.ลาว และอีกหนึ่งแห่งตั้งอยู่ชายแดนไทย-เมียนมา โรงเรียนทั้ง 3 เริ่มให้ความสำคัญสิทธิของผู้เรียนที่หลากหลาย แม้ว่าความเข้มข้นจะต่างระดับกัน ผู้มีส่วนร่วมและผู้ให้ข้อมูลมี 3 กลุ่มหลัก คือ มีผู้บริหารเทศบาลและสถานศึกษา ครู และนักเรียนเมื่อจบโครงการ โครงการมีผลผลิตหลัก ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ดังนี้ หนึ่งได้พัฒนาหลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษาจำนวน 6 หน่วยการเรียนรู้ โรงเรียนละ 2 หน่วย ที่เชื่อมโยงกับบริบทสถานศึกษา มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หน่วยละ สัปดาห์ แต่ละหน่วยใช้สอนทั้งช่วงชั้นที่ 2 และ 3 มีผู้เรียนทั้งหมด 420 คน ห้องเรียนที่นำหลักสูตรไปใช้ทั้งหมด 19 ห้อง ครูเข้าร่วมโครงการพัฒนาหลักสูตรและสอน 20 คน นอกจากนี้ โครงการได้พัฒนาคู่มือที่เป็นกรอบแนวคิดหลักสูตร จำนวน 1 ล่ม แผนการสอนและสื่อจำนวนพื้นที่ละ 1 เล่ม/ชุด โดยที่การพัฒนาหลักสูตรข้างต้นได้ประยุกต์ใช้แนวคิด CATS ของ James Banks (Contribution, Additive, Transformation and Social Action Levels) และแนวคิด TARAS (Tolerance, Acceptance, Respect, Affrmation Solidarity and Citique) ของ sonia ieto มาวิเคราะห์สถานะการเปลี่ยนแปลงระดับสถานศึกษา ภายหลังการพัฒนาและใช้หลักสูตรซึ่งพบว่าเมื่อโครงการดำเนินการเสร็จสิ้น การเปลี่ยนแปลงด้านพหุวัฒนธรรมศึกษาเข้มขันขึ้นทุกระดับ พบได้ทั้งในหลักสูตรสถานศึกษา นโยบายสถานศึกษา ความรู้และเจตคติของครู และความอ่อนไหวและสมรรถนะทางพหวัฒนธรรมของผู้เรียน จกข้อค้นพบที่เข้มแข็งข้างตัน โครงการมีข้อเสนอแนะให้กระบวนการพัฒนาหลักสูตรข้างต้นนำไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการใช้ PAR พัฒนาหลักสูตร และการเพิ่มศักยภาพครูด้านพหวัฒนธรรมศึกษา ในระดับปฐมวัยและระดับอื่น ๆคำสำคัญ: พหุวัฒนธรรมศึกษา หลักสูตรพหุวัฒนธรรมศึกษา การศึกษาปฐมวัย พื้นที่ชายขอบ
650_7‡aการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม‡xวิจัย
650_7‡aการศึกษาปฐมวัย‡xวิจัย
7000_‡aนงเยาว์ เนาวรัตน์
7000_‡aนันท์นภัส แสงฮอง
7000_‡aทองเหรียญ อินต๊ะพิงค์
7000_‡aวสันต์ สรรพสุข
7000_‡aพิสิษฏ์ นาสี
7000_‡aธนพงษ์ หมื่นแสน
7000_‡aชลียา ทาแกง
7000_‡aไพศาล ขัติธื
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
196998370.117 ก27วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด