เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1145593    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 : รายงานการวิจัย / ทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
ชื่อเรื่องGuidlines for the management of cultural tourism to promote the conservation of local wisdom of buffalo kite in Satun province under the concept of Thailand 4.0
 รายงานการวิจัย แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0
Dewey Call #338.4791 ท17น
ผู้แต่งทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงนวัฒนธรรม--สตูล--วิจัย
 การท่องเที่ยว--วิจัย
พิมพลักษณ์สตูล : วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2560
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1761
ชื่อเรื่องแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 : รายงานการวิจัย / ทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
ชื่อเรื่องGuidlines for the management of cultural tourism to promote the conservation of local wisdom of buffalo kite in Satun province under the concept of Thailand 4.0
 รายงานการวิจัย แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0
Dewey Call #338.4791 ท17น
ผู้แต่งทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
พิมพลักษณ์สตูล : วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2560
เนื้อหาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ว่าวควายสตูล -- แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย -- นโยบายไทยแลนด์ 4.0
หมายเหตุรายงานวิจัยฉบับนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ.2560
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงนวัฒนธรรม--สตูล--วิจัย
 การท่องเที่ยว--วิจัย
เชื่อมโยงhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1761
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ช], 89 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03285nam a2200241 4500
005 20250312184735.0
008 210112s2560 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bท17น
1000_‡aทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
24510‡aแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 :‡bรายงานการวิจัย /‡cทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง
24631‡aGuidlines for the management of cultural tourism to promote the conservation of local wisdom of buffalo kite in Satun province under the concept of Thailand 4.0
24630‡aรายงานการวิจัย แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0
260__‡aสตูล :‡bวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2560
300__‡a[ก-ช], 89 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
500__‡aรายงานวิจัยฉบับนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พ.ศ.2560
5052_‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ว่าวควายสตูล -- แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย -- นโยบายไทยแลนด์ 4.0
520__‡aแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่ายควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนต์ 40 ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูลพื่อส่งเสริมการท่องที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล และ 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัคสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Methd) มีการดำเนินการศึกษาเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งแบบสัมภาษณ์แบบสังเกตการณ์ และแบบสอบถาม เป็นครื่องมือในการก็บข้อมูล และมีผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วย กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงผู้เชี่ยวชาญค้นว่าวควายผลการวิจัยพบว่าแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ประกอบด้วยการพัฒนาปัจจัยที่สำคัญ 3 ปัจจัยหลัก ประกอบด้วย ปัจจัยที่ 1) การรวบรวมภูมิปัญญาและการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล ประกอบด้วย 1.1) จัดตั้งคณะคำเนินการรวบรวมภูมิปัญญาและการจัดการดวามรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูล 1.2) ดำเนินการขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญกี่ยวกับว่าวควาย 1.3) สร้างกระบวนการจัดการความรู้ในลักษณะเครือข่ายในทุกระดับ ปัจจัยที่ 2) การสร้างกลไกการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัดสตูลประกอบด้วย 2.1) สร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจ 2.2) เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ท้องถิ่น ของเยาวชนในทุกระดับสำหรับการศึกษาขั้น ปัจจัยที่ 3) การบริหารจัดการท่องเที่ยวเพื่อสร้างมูลค่าพิ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควาย ประกอบด้วย 3.1) เชื่อมโยงการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดสตูล 3 2) การจัดมหกรรมการแข่งขันว่าวนานาชาติภายใต้อัตลักษณ์ 3.3) จัดสถานที่สำหรับการเรียนรู้เรื่องราวว่าวควาย ปัจจัยที่ 4) การสร้างการรับรู้การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำว่าวควายจังหวัคสตูล ซึ่งให้ความสำคัญกับการสร้างการรับรู้หมายรวมถึงกรทำการประชาสัมพันธ์ และการตลาดทางการท่องเที่ยว
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงนวัฒนธรรม‡zสตูล‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xวิจัย
850__‡aSKRU
8564_‡uhttps://arit.skru.ac.th/ebook/pages/title_detail.php?title_code=1761
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
196962338.4791 ท17นวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด