เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1145604    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา : รายงานการวิจัย / ณัฐกร สงคราม, กัลยาณี กุลชัย
ชื่อเรื่องDevelopment of knowledge base on local wisdom in multicultural communities by hybrid active learning process and participation in community of higer education learners
 รายงานการวิจัย การพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา
Dewey Call #306.4 ณ113ก
ผู้แต่งณัฐกร สงคราม
ผู้แต่งเพิ่มเติมกัลยาณี กุลชัย
หัวเรื่องวัฒนธรรม--วิจัย
 ภูมิปัญญาชาวบ้าน--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2562
ชื่อเรื่องการพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา : รายงานการวิจัย / ณัฐกร สงคราม, กัลยาณี กุลชัย
ชื่อเรื่องDevelopment of knowledge base on local wisdom in multicultural communities by hybrid active learning process and participation in community of higer education learners
 รายงานการวิจัย การพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา
Dewey Call #306.4 ณ113ก
ผู้แต่งณัฐกร สงคราม
ผู้แต่งเพิ่มเติมกัลยาณี กุลชัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2562
เนื้อหาการเรียนรู้เชิงรุก -- การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน -- การเรียนรู้แบบผสมผสาน -- การเรียนรู้แบบส่วนร่วม -- ฐานความรู้และการจัดการความรู้ -- ภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ชุมชุนหลากวัฒนธรรม
หมายเหตุได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.2562
หัวเรื่องวัฒนธรรม--วิจัย
 ภูมิปัญญาชาวบ้าน--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ219 หน้า : ภาพประกอบ
LDR 03774nam a2200241 4500
005 20210115104304.0
008 210112s2562 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a306.4‡bณ113ก
1000_‡aณัฐกร สงคราม
24510‡aการพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา :‡bรายงานการวิจัย /‡cณัฐกร สงคราม, กัลยาณี กุลชัย
24631‡aDevelopment of knowledge base on local wisdom in multicultural communities by hybrid active learning process and participation in community of higer education learners
24630‡aรายงานการวิจัย การพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,‡c2562
300__‡a219 หน้า : ‡bภาพประกอบ
500__‡aได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.2562
5052_‡aการเรียนรู้เชิงรุก -- การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน -- การเรียนรู้แบบผสมผสาน -- การเรียนรู้แบบส่วนร่วม -- ฐานความรู้และการจัดการความรู้ -- ภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ชุมชุนหลากวัฒนธรรม
520__‡aวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระวนการเรียนรู้เชิงรุกแบผสมผสานโดยการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โคยมีวิธีดำเนินการวิจัย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานความรู้ภูมิปัญญาห้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรม ระยะที่ 2 การรวบรวมความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานและการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา และจัดเก็บลงในฐานความรู้ ระยะที่ 3 การประเมินคุณภาพฐานความรู้ และประเมินความคิดเห็นที่มีต่อการใช้งานผลการวิจัยพบว่า1.ฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนหลากวัฒนธรรม พัฒนาโดยใช้โปรแกรม Joomla ซึ่งเป็นโปรแกรมเปิดเผยรหัส (Open Source Software) ประเภทระบบบริหารจัดการเนื้อหา(Content Mangement System : CMS) ร่วมกับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache โปรแกรมภาษา PHP และโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล PHPMyAdmin มีโครงสร้างแบบลำดับขั้น นำเสนอความรู้ภูมิปัญญาแบบข้อความ ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ที่เป็นผลผลิตจากการเรียนในการวิจัยระยะที่ 2 และความรู้ที่ค้นจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ จำแนกภูมิปัญญาออกเป็น 5 ประเภท คือ (1) การดำรงชีพและสุขภาพ(2) ศิลปะวัฒนรรมประเพณี และภาษา (3) เศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ (4) ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(5) ระบบสังคม ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกสืบค้นภูมิปัญญาจกภูมิภาค จังหวัด ชุมชน หรือประเภท บรรจุความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากแหล่งทุติยภูมิ 49 ภูมิปัญญา และความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานโดยการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา 20 ภูมิปัญญา รวมทั้งสิ้น 69 ภูมิปัญญา2. กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมผสานโดยการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา เพื่อรวบรวมความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ (1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น (2) ผู้สอน (3) ผู้เรียน (4) ชุมชน (5) เครื่องมือสนับสนุนการเรียน และ 8 ขั้นตอน คือ (1) การเตรียมความพร้อมผู้เรียน (2) การเตรียมทีมงานระหว่างผู้เรียนกับชุมชน (3) การกำหนดเป้าหมาย (4) การวางแผน (5) การแสวงหาความรู้ (6) การสร้างและจัดเก็บความรู้ (7) การนำความรู้ไปใช้ (8) การสรุปและประเมิผล โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เรียนระดับอุดมศึกษา 68 คน หลังจากที่เรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบผสมสานโดยการมีส่วนร่วมในชุมชนแล้ว มีความคิดเห็นว่า ได้ฝึกการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริง ได้ฝึกการวางแผน ค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ได้ฝึกคิดวิเคราะห์มากกว่าการท่องจำ สามารถนำประสบการณ์ใช้ประโยชน์ต่อการทำงานในอนาคต และเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรอนุรักษ์ไว้3. การประเมินคุณภาพฐานความรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ 9 คน พบว่า คุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก การประเมินควมคิดเห็นโดยกลุ่มตัวอย่าง 98 คน พบว่า ความพึงพอใจต่อการใช้งานโดยรวมอยู่ในระดับมาก
650_7‡aวัฒนธรรม‡xวิจัย
650_7‡aภูมิปัญญาชาวบ้าน‡xวิจัย
7000_‡aกัลยาณี กุลชัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
197002306.4 ณ113กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด