ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1145906
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน : รายงานการวิจัย / ปนัดดา ยิ้มสกุล...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยการสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน
Research on innovation empowerment to improve the quality of life of the elderly into the aging society in the next decade by using communites and schools as a base
Dewey Call #
305.26 ป15ก
ผู้แต่ง
ปนัดดา ยิ้มสกุล
ผู้แต่งเพิ่มเติม
วิไล ตั้งจิตสมคิด
วาสนา เพิ่มพูล
นฤมล ปภัสสรานนท์
วาสนา สังข์พุ่ม
หัวเรื่อง
การวางแผนผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิต
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2560
ชื่อเรื่อง
การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน : รายงานการวิจัย / ปนัดดา ยิ้มสกุล...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยการสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน
Research on innovation empowerment to improve the quality of life of the elderly into the aging society in the next decade by using communites and schools as a base
Dewey Call #
305.26 ป15ก
ผู้แต่ง
ปนัดดา ยิ้มสกุล
ผู้แต่งเพิ่มเติม
วิไล ตั้งจิตสมคิด
วาสนา เพิ่มพูล
นฤมล ปภัสสรานนท์
วาสนา สังข์พุ่ม
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2560
เนื้อหา
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ -- แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความหมายของคุณภาพชีวิต -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมพลัง -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรม -- ชุมชนเขตธนบุรี --
หัวเรื่อง
การวางแผนผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิต
ลักษณะทางกายภาพ
262 หน้า : ภาพประกอบ
LDR
04691nam a2200265 4500
005
20211101160814.0
008
210317s2560 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a305.26‡bป15ก
100
0_
‡aปนัดดา ยิ้มสกุล
245
10
‡aการสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน :‡bรายงานการวิจัย /‡cปนัดดา ยิ้มสกุล...[และคนอื่นๆ]
246
30
‡aรายงานการวิจัยการสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน
246
31
‡aResearch on innovation empowerment to improve the quality of life of the elderly into the aging society in the next decade by using communites and schools as a base
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bbมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2560
300
__
‡a262 หน้า : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ -- แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความหมายของคุณภาพชีวิต -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมพลัง -- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรม -- ชุมชนเขตธนบุรี --
520
__
‡aการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทชุมชนและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้า 2) เพื่อสร้างนวัตกรรมเสริมพลังในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าสู่การปฏิบัติโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐานและ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้า ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี 44 ชุมชน มีจำนวน 1,038 คน กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ใช้ศึกษาบริบทชุมชนและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจำนวน 440 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้เกณฑ์ เป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุมชน ไม่น้อยกว่า 10 ปี และเป็นผู้สูงอายุที่มีความพร้อมในด้านเวลา สุขภาพ ประกอบกับสนใจและสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเสริมพลัง ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมกิจกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้า จำนวน 150 คน ใช้เกี่ยวกับการประเมินนวัตกรรมเว็บไซต์คลังความรู้และแนวทางการบรหารจัดการในการพัฒฯาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่สังคมสูงวัยในทศวรรษหน้า จำนวน อย่างละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสำรวจบริบทชุมชน แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบประเมินคุณภาพนวัตกรรมคลังความรู้ ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการศึกษาบริบทชุมชนและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี จำนวน 44 ชุมชน ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี ส่วนใหญ่เป็นชุมชนที่ค่อนข้างแออัด มีแม่น้ำลำคลองที่สำคัญหลายสายไหลผ่าน ชุมชนเขตธนบุรีเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์มีโบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งเป็นแหลฃ่งรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีความรู้และประสบการณ์ที่มีความเชี่ยวชาญอาชีพของคนในชุมชนค่อนข้างหลากหลาย ส่วนใหญ่มีอาชีพ รับจ้างทั่วไป ส่วนองค์ประกอบในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ สุขภาพกายและใจ อาหารและโภชนาการ หลักประกันและความมั่นคงในชีวิต การมีส่วนร่วมในสังคม การจัดการคสวามรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ครอบครัวและผู้สูงอายุ 2. ผลการสร้างนวัตกรรมเสริมสร้างในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้อายุสูง ชุมชนพื้นที่เขตธนบุรีด้วยการจัดกิจกรรมเสริมพลังให้กับผู้สูงอายุ จำนวน 4 กิจกรรม ในภาพรวมพบว่า องค์ประกอบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อยู่ในระดับมาก ส่วนการประเมินกิจกรรม พบว่าความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อกิจกรรมทั้งในด้านความรู้ความเข้าใจ ความพึงพอใจและการนำความรู้ไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินคุณภาพของนวัตกรรรมเว็บไซต์คลังความรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก 3. ผลศึกษาแนวทางการบริหารจัดการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าชุมชนพื้นที่เขตธนบุรี ส่วนใหญ่มีพลังความพร้อมที่จะเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม/ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ต้องการกิจกรรมเสริมพลังในการพัฒฯาคุณภาพชีวิตทางด้านจิตใจและการบริการด้านสุขภาพ มีความสุขกับสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตนเอง จากการตรวจเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ทำให้ทราบปัญหาและความต้องการช่วยเหลือด้านต่าง ๆ เช่น สภาพความเป็นอยู่และสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ และความต้องการได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาทักษะทางอาชีพในการสร้างรายได้เสริม ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ จนสามารถพึ่งพาตนเอง มีหลักประกันและความมั่นคงในชีวิต ตลอดจนต้องการเรียนรู้การนำนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ
650
_7
‡aการวางแผนผู้สูงอายุ
650
_7
‡aผู้สูงอายุ‡xการดำเนินชีวิต
700
0_
‡aวิไล ตั้งจิตสมคิด
700
0_
‡aวาสนา เพิ่มพูล
700
0_
‡aนฤมล ปภัสสรานนท์
700
0_
‡aวาสนา สังข์พุ่ม
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
197654
305.26 ป15ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5
กำลังดำเนินการ
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล, นฤมล ปภัสสรานนท์, และ วาสนา สังข์พุ่ม. (2560).
การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล, นฤมล ปภัสสรานนท์, และ วาสนา สังข์พุ่ม.
การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2560.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล, นฤมล ปภัสสรานนท์, และ วาสนา สังข์พุ่ม. 2560.
การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ปนัดดา ยิ้มสกุล, วิไล ตั้งจิตสมคิด, วาสนา เพิ่มพูล, นฤมล ปภัสสรานนท์, และ วาสนา สังข์พุ่ม. การสร้างนวัตกรรมเสริมพลังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเข้าสู่ยุคสังคมสูงวัยในทศวรรษหน้าโดยใช้ชุมชนและสถานศึกษาเป็นฐาน :รายงานการวิจัย . กรุงเทพฯ :bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2560.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
123
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.