เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147571    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นภารัตน์ ไวยเจริญ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก
 The Study of microstructure of geopolymer based on water treatment residue for immobilizing heavy metal waste
Dewey Call #620.192 น16ก
ผู้แต่งนภารัตน์ ไวยเจริญ
หัวเรื่องโพลิเมอร์
 โลหะหนัก
 โรงประปา
พิมพลักษณ์ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2563
ชื่อเรื่องการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / นภารัตน์ ไวยเจริญ
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก
 The Study of microstructure of geopolymer based on water treatment residue for immobilizing heavy metal waste
Dewey Call #620.192 น16ก
ผู้แต่งนภารัตน์ ไวยเจริญ
พิมพลักษณ์ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2563
เนื้อหาจีโอพอลิเมอร์ -- ปฏิกิริยาจีโอพอลิเมอไรเซซัน -- ปัจจัยการสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ -- อุณหภูมิระยะเวลาการบ่ม -- บทบาทของน้ำ -- การกักเก็บของเสียในจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ และงานวิจัยสนับบสนุน -- ของเสัยอันตราย -- โลหะหนัก -- วิธีการบำบัดของเสีย -- โรงผลิตน้ำบางเขน -- การเตรียมวัตถุดิบ สารเคมีแลอื่นๆ -- การสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ -- การทดสอบคุณภาพของก้อนของเสียจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ -- โครงสร้างจุลภาคของกากเหลือทิ้งโรงประปา -- โครงสร้างจุลภาคของก้อนของเสียหล่อแข็งจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ -- การพัฒนากำลังรับแรงอัดของก้อนของเสียหล่อแข็งจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์
หัวเรื่องโพลิเมอร์
 โลหะหนัก
 โรงประปา
ลักษณะทางกายภาพ60 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03975nam a2200229 4500
005 20211014115138.0
008 211014s2563 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a620.192‡bน16ก
1000_‡aนภารัตน์ ไวยเจริญ
24510‡aการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cนภารัตน์ ไวยเจริญ
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการศึกษาโครงสร้างจุลภาคของจีโอพอลิเมอร์จากกากเหลือทิ้งโรงประปาสำหรับการกักเก็บของเสียโลหะหนัก
24631‡aThe Study of microstructure of geopolymer based on water treatment residue for immobilizing heavy metal waste
260__‡aปัตตานี:‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2563
300__‡a60 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aจีโอพอลิเมอร์ -- ปฏิกิริยาจีโอพอลิเมอไรเซซัน -- ปัจจัยการสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ -- อุณหภูมิระยะเวลาการบ่ม -- บทบาทของน้ำ -- การกักเก็บของเสียในจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ และงานวิจัยสนับบสนุน -- ของเสัยอันตราย -- โลหะหนัก -- วิธีการบำบัดของเสีย -- โรงผลิตน้ำบางเขน -- การเตรียมวัตถุดิบ สารเคมีแลอื่นๆ -- การสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ -- การทดสอบคุณภาพของก้อนของเสียจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ -- โครงสร้างจุลภาคของกากเหลือทิ้งโรงประปา -- โครงสร้างจุลภาคของก้อนของเสียหล่อแข็งจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ -- การพัฒนากำลังรับแรงอัดของก้อนของเสียหล่อแข็งจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์
520__‡aการวิจัยครั้งนี้เป็นการนำกากเหลือทิ้งโรงงานประปามาสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ร่วมกับโลหะหนักสังเคราะห์ทั้งในรูปไฮดรอกไซด์และสารละลายไนเตรท เพื่อศึกษาคุณภาพและโครงสร้างจุลภาคของก้อนของเสียหล่อแข็งภายหลังการบ่ม 28 วัน ซึ่งเป็นสภาวะการบ่มที่ปฏิกิริยาจีโอพอลิเมอร์ไรเซซันเริ่มเข้าสู่สภาวะสมดุล การทดสอบครั้งนี้ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ระดับโครงสร้างจุลภาคของวัสดุได้แก่ เทคนิค XRF XRD FTIR SEM-EDS ตลอดจนการทดสอบค่ากำลังรับแรงอัดของก้อนของเสียหล่อแข็ง -- ผลการวิจัยสรุปได้ว่า กากเหลือทิ้งโรงประปาที่ผ่านการเผาด้วยอุณหภูมิสูง 800 องศาเซลเซียส สามารถเกิดปฏิกริริยาจีโอพอลิเมอไรเซซันได้ ผลิตภัณฑ์จีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่ให้กำลังรับแรงอัดสูงที่สุดเท่ากับ 11.2 MPa ภายหลังการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ในรูปของเหล็กทั้ง 2 รูปแบบ สามารถพัฒนาแรงอัดได้มากที่สุด และมีค่าใกล้เคียงกันเท่ากับ 4.0 MPa และ 3.8 MPa ตามลำดับ ส่วนการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ zinc ในรูปสารละลายในเตรท มีการพัฒฯากำลังรับแรงอัดน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ 2.2 MPa ภายหลังการกระตุ้นด้วย NaOH จะเกิดโครงสร้างใหม่ในรูปแบบ sodium aluminum silicate hydrate เช่นเดียวกับการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ Zn Cr และ Fe เกิดสารประกอบใหม่ที่หลากหลายมากขึ้นได้แก่ sodium aluminum chromium oxide silicate, sodium zinc silicate, sodium zinc aluminum silicate hydrate, sodium aluminum ferric silicate hydrate, sodium chromium silicate, ferric oxide, zinc oxide, chromium oxide, chrominum silicate, ferric silicate ส่วนการใช้เทคนิค FTIR ภายหลังมีการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ พบเลขคลื่นปรากฏตรงตำแหน่งใหม่คือ 1425 cm-1 และ 1384-1381 cm-1 เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SEM-EDS พบว่า ภายในโครงสร้างจีโอพอลิเมอร์สังเคราะห์ทั้งผสมและไม่ผสมโลหะหนักสังเคราะห์ มีลักษณะพื้นผิว ขรุขระ ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน มีรูพรุนและช่องว่างกระจายทั่วโครงสร้าง จากการวิเคราะห์พฤติกรรมของธาตุพบว่า ธาตุ Si และ Al มีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกันกระจายอยู่ทั่วทั้งก้อนส่วนการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ในรูปไฮดรอกไซต์ Cr Fe Zn ร้อยละ 30 พบว่า โลหะหนักไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกันในโครงสร้างอะลูมิโนซิลิเกต แต่จะอยู่ร่วมกับ Na เป็นไปตามหลักการทำก้อนแข็ง ในภาวะด่างจะเกิดการตกตะกอนบริเวณผิวของอนุภาคในรูปของโลหะไฮดอรกไซด์ และโลหะซิลิเกต เช่นในรูป sodium aluminum chomiun oxide silicate, sodium zinc silicate, sodium chomium silicate, ferric oxide, zinc oxide, chromium oxide, chromium silicate, และ ferric silicate การสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์ที่มีการผสมโลหะหนักสังเคราะห์ ทั้ง 2 รูปแบบ ทั้ง 3 ชนิดธาตุ มีการพัฒนากำลังรับแรงอัดลดลง เกิดจากการหน่วงปฏิกิริยาจีโอพอลิเมอไรเซซั่น การศึกษาครั้งนี้จำเป็นต้องมีการศึกษาการชะละลายของโลหะหนักในก้อนของเสียหล่อแข็ง เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการกักเก็บโลหะหนักในลำดับต่อไป
650_7‡aโพลิเมอร์
650_7‡aโลหะหนัก
650_7‡aโรงประปา
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
196935620.192 น16กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด