ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1147722
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ = Video Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom / ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย
Video Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom
Dewey Call #
330.9593 ศ46ก
ผู้แต่ง
ศุภฤกษ์ ทานาค
ผู้แต่งเพิ่มเติม
นาตยา ปิลันธนานนท์
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะศึกษาศาสตร์
หัวเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์
ดิจิทัลวิดีโอ--การตัดต่อ
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2563
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ = Video Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom / ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย
Video Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom
Dewey Call #
330.9593 ศ46ก
ผู้แต่ง
ศุภฤกษ์ ทานาค
ผู้แต่งเพิ่มเติม
นาตยา ปิลันธนานนท์
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะศึกษาศาสตร์
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2563
เนื้อหา
เศรษฐกิจพอเพียง -- ภูมิปัญญาไทย -- การสร้างสื่อคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน -- ระยะที่ 1 ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ -- ระยะที่ 2 พัฒนานวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯและการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น) -- ระยะที่ 3 ทดลองใช้นวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯและการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น) กับกลุ่มตัวอย่าง -- ระยะที่ 4 เผยแพร่ขยายผลนวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯ)สำหรับเยาวชนในท้องถิ่นที่อื่นๆ และประชาชนทั่วไป
หัวเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์
ดิจิทัลวิดีโอ--การตัดต่อ
ลักษณะทางกายภาพ
487 หน้า : ภาพประกอบ
LDR
05035nam a2200265 4500
005
20211101141221.0
008
211101s2563 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a330.9593‡bศ46ก
100
0_
‡aศุภฤกษ์ ทานาค
245
10
‡aการพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย :‡bรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ =‡bVideo Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom /‡cศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
246
30
‡aรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย
246
31
‡aVideo Clips Developments for Youth to Construct Understanding of Sufficiency Economy through Learning Thai Wisdom
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,‡c2563
300
__
‡a487 หน้า : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aเศรษฐกิจพอเพียง -- ภูมิปัญญาไทย -- การสร้างสื่อคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน -- ระยะที่ 1 ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ -- ระยะที่ 2 พัฒนานวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯและการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น) -- ระยะที่ 3 ทดลองใช้นวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯและการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น) กับกลุ่มตัวอย่าง -- ระยะที่ 4 เผยแพร่ขยายผลนวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯ)สำหรับเยาวชนในท้องถิ่นที่อื่นๆ และประชาชนทั่วไป
520
__
‡aงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมปัญญาไทยนี้ เกิดจากแรงบันดาลใจของคณะผู้วิจัยในการเจริญตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบามสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชนไทยให้ดียิ่งขึ้น ในการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อคัดสรรเนื้อหาความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์เพื่อให้เกิดความเข้าใจในภูมิปัญญาไทยนั้นๆ 2. เพื่อพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน โดยการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปทำความเข้าใจภูมิปัญญาไทยด้านต่างๆ 3. เพื่อประเมินคลิปวิดีโอที่พัฒนาขึ้น โดยการศึกษาความรู้ ความเข้าใจ และเจคคติ ของเยาวชนที่มีต่อเศรษฐกิจพอเพียงในภูมิปัญญาไทยด้านต่างๆ และความคิดเห็นที่มีต่อคลิปวิดีโอที่สร้างขึ้นและ 4. เพื่อเผยแพร่คลิปวิดีโอดังกล่าวให้แพร่หลาย กระบวนการวิจัยนั้นมี 4 ระยะได้แก่ ที่ 1 ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภูมิปัญญาไทยที่โดดเด่นในเรื่องการใช้เศรษฐกิจพอเพียงอย่างได้ผล เพื่อคัดสรรเนื้อหาความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์เพื่อให้เกิดความเข้าใจในภูมิปัญญาไทยนั้น ๆ และนำเนื้อหาความรู้ที่ได้รับมาเป็นแนวทางในการพัฒฯาคลิปวิดีโอต่อไป ระยะที่ 2 ดำเนินการเขียนสคริปต์และควบคุมการผลิตคลิปวิดีโอออกมาโดยมีเนื้อหาการนำเสนอที่ดึงดูดใจในการชม และใช้เทคนิคของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย รวมทั้งออกแบบระบบการประเมินเพื่อทดสอบความรู้และความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและระบบการประเมินความคิดเห็นและเจตคติของเยาวชนผ่านแอพพลิเคชั่น หลังจากนั้นนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางตรวจสอบคุณภาพของคลิปวิดีโอและระบบการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น ระยะที่ 3 ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเยาวชนจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยใน 6 ภูมิภาค รวมทั้งสิ้นจำนวน 576 คน ระดับการศึกษาตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาตอนปลายจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษานอกระบบโรงเรียน(กศน.) โดยทำการทดลองกับเยาวชนที่มีความพร้อมสำหรับอุปกรณ์สมาร์ทโฟน แท๊บแล็ต ฯลฯ เป็นระบบออนไลน์เต็มรูปแบบ ระยะที่ 4 เผยแพร่ขยายผลนวัตกรรม(คลิปวิดีโอฯ) สำหรับเยาวชนใรท้องที่อื่น ๆ และประชาชนทั่วไปผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ผลการทดลองปรากฎว่า เนื้อหาความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยด้านต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ได้ตามสาขาต่าง ๆ ของภูมิปัญญาไทยมีจำนวน 10 เรื่อง ในส่วนของคลิปวิดีโอมีเนื้อหาสะท้อนหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงชัดเจนโดยใช้ภูมิปัญญาไทยในการดำเนินเรื่อง สามารถเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างได้ดี ดึงดูดใจในการชมแต่อาจจะมรจุดอ่อนเรื่องระยะเวลาที่อาจจะยาวนานเกินไปในบางคลิปวิดีโอ เมื่อวิเคราะห์ผลการประเมินผ่านแอพพลิเคชั่น พบว่าระดับชั้นที่มี ค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงที่สุดได้แก่ ระดับชั้น ม.4 ม.5 ม.6 และกศน. ป.4-6 ผลระดับภูมิภาคพบว่าภูมิภาคที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงที่สุดได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(นครราชสีมาและขอนแก่น) และภาคกลาง (ลพบุรีและกรุงเทพฯ) สำหรับผลประเมินความพึงพอใจพบว่าระดับชั้นป. 4 ป.5 และป.6 มีความพึงพอใจค่อนข้างสูง อีกทั้งผลประเมินเจตคติพบว่าทุกระดับชั้นที่มีผลประเมินเจตคติอยู่ในระดับดีมาก ข้อค้นพบที่สำคัญของงานวิจัยนี้คือ การศึกษาองค์ความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจพอเพียงอย่างลึกซึ้งนั้นช่วยให้สามารถบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างลงตัวมองเห็นคุณค่าของการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนินชีวิต แสดงให้เห็นเด่นชัดว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นไม่ใช่มีประโยชน์ต่อคนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเท่านั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับเรื่องอื่นๆทุกเรื่องไม่มีข้อจำกัดเพียงแต่การนำไปใช้ต้องศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนจึงจะเห็นผลชัดเจนผลการเผยแพร่ขยายผลทางสื่อสังคมออนไลน์พบว่า มีจำนวนยอดผู้เข้าชมเพิ่มขึ้นเรื่องๆและมีข้อมูลสะท้อนกลับที่แสดงถึงการเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจพอเพียงในการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
650
_7
‡aเศรษฐกิจพอเพียง
650
_7
‡aการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์
650
_7
‡aดิจิทัลวิดีโอ‡xการตัดต่อ
700
0_
‡aนาตยา ปิลันธนานนท์
700
0_
‡aฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์
710
2_
‡aมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์‡bคณะศึกษาศาสตร์
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
199903
330.9593 ศ46ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์, และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2563).
การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ =.
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์, และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ =.
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2563.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์, และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2563.
การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ =.
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
ศุภฤกษ์ ทานาค, นาตยา ปิลันธนานนท์, ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์, และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การพัฒนาคลิปวิดีโอสำหรับเยาวชน เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย :รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ =. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2563.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
60
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.