เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147747    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์, ปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง ฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน
 Anti-Oral cancer activity and apoptosis induction mechanism by Trienone Analog of Curcumin
Dewey Call #616.99431 ธ113ฤ
ผู้แต่งธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์
ผู้แต่งเพิ่มเติมปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
หัวเรื่องเซลล์มะเร็ง--วิจัย
 ปาก--มะเร็ง--วิจัย
 ปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
 พิษวิทยา--วิจัย
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2563
ชื่อเรื่องฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์, ปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
ชื่อเรื่องรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง ฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน
 Anti-Oral cancer activity and apoptosis induction mechanism by Trienone Analog of Curcumin
Dewey Call #616.99431 ธ113ฤ
ผู้แต่งธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์
ผู้แต่งเพิ่มเติมปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
พิมพลักษณ์ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2563
เนื้อหาโรคมะเร็งช่องปาก -- การเหนี่ยวนำอะพอพโทซิสในเซลล์มะเร็ง -- เคอร์คูมินอยด์แอนาลอกและฤทธิ์ทางชีวภาพ -- การเตรียมสารทดสอบ -- การเพาะเลี้ยงเซลล์ -- การศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ -- การศึกษาระดับ reactive oxygen species ในเซลล์ -- การศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ Caspase -- การศึกษาอะพอพโทซิสด้วย Annexin-V/PI double staining assay -- การศึกษาสัณฐานของนิวเคลียสด้วยการย้อมสี DAPI -- การวัดความเข้มข้นของโปรตีน -- การวิเคราะห์ทางสถิต -- ความเป็นพิษของสารไทรอีโนนแอนาลอกต่อเซลล์มะเร็งช่องปากเพาะเลี้ยง -- ความจำเพาะของการเป็นสารต้านมะเร็ง -- ผลของไทรอีโนนแอนาลอกต่อการสร้าง reactive oxygen species ในเซลล์มะเร็ง -- การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ROS และการตายของเซลล์มะเร็ง -- ผลต่อการเหนี่ยวนำการตายของเซลล์แบบอะพอพโทซิสของไทรอีโนนแอนาลอก
หัวเรื่องเซลล์มะเร็ง--วิจัย
 ปาก--มะเร็ง--วิจัย
 ปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
 พิษวิทยา--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ60 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03481nam a2200253 4500
005 20211103095925.0
008 211103s2563 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a616.99431‡bธ113ฤ
1000_‡aธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์
24510‡aฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน :‡bรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ /‡cธัญญรัศม์ อุทัยพันธ์, ปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
24630‡aรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง ฤทธิ์ต้านมะเร็งช่องปากและกลไกการเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสโดยสารไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมิน
24631‡aAnti-Oral cancer activity and apoptosis induction mechanism by Trienone Analog of Curcumin
260__‡aปัตตานี :‡bคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2563
300__‡a60 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aโรคมะเร็งช่องปาก -- การเหนี่ยวนำอะพอพโทซิสในเซลล์มะเร็ง -- เคอร์คูมินอยด์แอนาลอกและฤทธิ์ทางชีวภาพ -- การเตรียมสารทดสอบ -- การเพาะเลี้ยงเซลล์ -- การศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ -- การศึกษาระดับ reactive oxygen species ในเซลล์ -- การศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ Caspase -- การศึกษาอะพอพโทซิสด้วย Annexin-V/PI double staining assay -- การศึกษาสัณฐานของนิวเคลียสด้วยการย้อมสี DAPI -- การวัดความเข้มข้นของโปรตีน -- การวิเคราะห์ทางสถิต -- ความเป็นพิษของสารไทรอีโนนแอนาลอกต่อเซลล์มะเร็งช่องปากเพาะเลี้ยง -- ความจำเพาะของการเป็นสารต้านมะเร็ง -- ผลของไทรอีโนนแอนาลอกต่อการสร้าง reactive oxygen species ในเซลล์มะเร็ง -- การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ROS และการตายของเซลล์มะเร็ง -- ผลต่อการเหนี่ยวนำการตายของเซลล์แบบอะพอพโทซิสของไทรอีโนนแอนาลอก
520__‡aการล้มเหลวของการรักษามะเร็งช่องปากส่วนใหญ่เกิดจากการรุกรานของเซลล์มะเร็งไปยังอวัยวะอื่น ๆ และการไม่ตอบสนองต่อยาเคมีบำบัด ดังนั้นการพัฒนายาต้านมะเร็งตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษามะเร็งระยะลุกลามและมะเร็งดื้อยา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นพิษและกลไกต้านมะเร็งช่องปากเพาะเลี้ยงที่มีคุณสมบัติในการรุกรานและดื้อยาแตกต่างกันของสารสังเคราะห์ AS-WK083 ซึ่งเป็นไทรอีโนนแอนาลอกของเคอร์คูมินโดยเซลล์มะเร็งช่องปากเพาะเลี้ยงที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ CLS-354/WT ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งที่ไม่มีความสามารถในรุกรานและตอบสนองได้ดีต่อยามาตรฐาน และ CLS-354/DX ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งที่มีความสมารถในรุกรานและดื้อยามาตรฐาน ผลการศึกษาความเป็นพิษต่อเซลส์ CLS-354/WT และCLS-354/DX โดยวิธี MTT assay พบว่เคอร์คูมินมีค่า IC50 เท่ากับ 13.31 +- 1.24 และ 47.54 1.42 ไมโครโมลาร์ ตามลำดับ ส่วนสาร AS-WK083 โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 10.09 1.06 และ 16.50 1.03 ไมโครโมลาร์ ตามลำดับ ซึ่งมีฤทธิ์ดีกว่าเคอร์คูมินประมาณ 1.3 และ 3 เท่า ในเซลล์ CLS-354/WT และ CLS-354/DX ตามลำดับ กลไกต้านมะเร็งของสาร AS-WK083 ศึกษาโดยการทดสอบการสร้างอนุมูลอิสระออกซิเจนภายในเซลล์ด้วยวิธี DCHF-DA fluorometric assay การทดสอบการตายของเซลล์แบบ อะพอพโทซิสด้วยวิธี DAPI staining วิธี Annexin V/PI double staining และCaspase activity assay ผลการศึกษาพบว่าสาร AS-WK083 (15-30 ไมโครโมลาร์) เหนี่ยวนำการสร้างอนุมูลอิสระออกซิเจนภายในเซลล์หลังได้รับสารเป็นระยะเวลา 12 ชั่วโมง และเหนี่ยวนำการตายแบบอะพอพโทซิสภายใน 24 ชั่วโมง โดยการกระตุ้นกิจกรรมของเอนไซม์ Caspase-9 และ Caspase-3กลไกดังกล่าวถูกยับยั้งได้ด้วย N-acetylcysteine ซึ่งเป็นสารยับยั้งการสร้างอนุมูลอิสระภายในเซลล์ แสดงให้เห็นว่า AS-WK083 เหนี่ยวนำการสร้างอนุมูลอิสระออกซิเจนซึ่งเป็นสารสื่อกลางที่นำไปสู่การตายของเซลล์มะเร็งช่องปากทั้งสองชนิดแบบอะพอพโทซิสผ่านการกระตุ้นวิถีภายใน
650_7‡aเซลล์มะเร็ง‡xวิจัย
650_7‡aปาก‡xมะเร็ง‡xวิจัย
650_7‡aปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
650_7‡aพิษวิทยา‡xวิจัย
7000_‡aปิยะวรรณ์ บุญญานุพงศ์
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
196597616.99431 ธ113ฤวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด