ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1147760
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย = Safety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla / พรทิพย์ เรืองธรรม...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
Safety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla
Dewey Call #
338.4791 ร415
ผู้แต่งเพิ่มเติม
พรทิพย์ เรืองธรรม
กฤต โงว้ธนสุวรรณ
นพรัตน์ บุญเพียรผล
ประกิต สิงห์ทอง
รุ่งทิวา ปุณะตุง
นงนุช เสนคำ
รังสรรค์ ตาลจรัส
หัวเรื่อง
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย--วิจัย
เกาะยอ--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
เกาะยอ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563
ชื่อเรื่อง
รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย = Safety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla / พรทิพย์ เรืองธรรม...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
Safety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla
Dewey Call #
338.4791 ร415
ผู้แต่งเพิ่มเติม
พรทิพย์ เรืองธรรม
กฤต โงว้ธนสุวรรณ
นพรัตน์ บุญเพียรผล
ประกิต สิงห์ทอง
รุ่งทิวา ปุณะตุง
นงนุช เสนคำ
รังสรรค์ ตาลจรัส
พิมพลักษณ์
สงขลา : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563
เนื้อหา
ข้อมูลพื้นฐานของตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- แนวคิดด้านการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทย -- แนวคิดด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยว -- แนวคิดด้านกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว -- ผลการสำรวจสถานการณ์การท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- ผลการจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยในชุมชนของตนเอง -- ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของผู้ประกอบการโฮมสเตย์ผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่วิจัย และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความรู้สึกปลอดภัยในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว -- ปัจจัยด้านการออกแบบรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยในชุมชนของตนเอง -- คู่มือ "สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยในการท่องเที่ยว ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา" -- โปสเตอร์ "รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยโดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา " -- แบบประเมิน "สภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน"
หัวเรื่อง
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย--วิจัย
เกาะยอ--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
เกาะยอ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
434 หน้า : ภาพประกอบ
LDR
04730nam a2200301 4500
005
20211104105852.0
008
211103s2563 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a338.4791‡bร415
245
10
‡aรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :‡bรายงานการวิจัย =‡bSafety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla /‡cพรทิพย์ เรืองธรรม...[และคนอื่นๆ]
246
30
‡aรายงานการวิจัยรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
246
31
‡aSafety tourism modeling, Tumbon Koh Yo, Amphoe Mueang, Songkhla
260
__
‡aสงขลา :‡bกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.),‡c2563
300
__
‡a434 หน้า : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aข้อมูลพื้นฐานของตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- แนวคิดด้านการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทย -- แนวคิดด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยว -- แนวคิดด้านกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว -- ผลการสำรวจสถานการณ์การท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- ผลการจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยในชุมชนของตนเอง -- ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของผู้ประกอบการโฮมสเตย์ผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่วิจัย และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความรู้สึกปลอดภัยในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว -- ปัจจัยด้านการออกแบบรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา -- กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยในชุมชนของตนเอง -- คู่มือ "สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยในการท่องเที่ยว ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา" -- โปสเตอร์ "รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยโดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา " -- แบบประเมิน "สภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน"
520
__
‡aการวิจัยเรื่องรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของผู้ประกอบโฮมสเตย์ ผู้นำชุมชน ประชาชน และนักท่องเที่ยวในพื้นที่วิจัย และ 2) ปัจจัยด้านการออกแบบรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยโดยชุมชนมีส่วนร่วม ในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ และแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต ของพื้นที่วิจัย กระบวนการวิจัย ประกอบด้วย ประชากรในพื้นที่วิจัย 4 กลุ่ม คือ ผู้นำชุมชน, ผู้ประกอบการโฮมสเตย์, ประชาชน และนักท่องเที่ยว ปัจจัยด้านความปลอดภัย 4 มิติ คือ มิติที่ 1 ปัจจัยสิง่อำนวยความสะดวกทั่วไปตามหลักการออกแบบเพื่อมวลชน, มิติที่ 2 ปัจจัยระบบแจ้งเตือนความปลอดภัย, มิติที่ 3 ปัจจัยระบบป้องกันเพลิงไหม้และมาตรการควบคุมกฎระเบียบอาคาร และมิติที่ 4 ปัจจัยมาตรการป้องกันโรคระบาด (โควิด-19) การดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม 3 ระยะ คือ ระะยะแรก เป็นการระบุปัญหาแลความต้องการ, ระยะกลาง เป็นการวางแผนและการตัดสินใจ และระยะสุดท้าย เป็นการติดตามประเมินผล และการอบรมสร้างความเข้าใจเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย แบบสำรวจสภาพแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว, แบบสนทนากลุ่ม และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล 2 แบบ คือ แบบที่ 1 เชิงปริมาณ ด้วยการวิเคราะห์แบบจำลองเชิงโครงสร้าง (Structural Modrl) ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ด้านความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของประชาชนและนักท่องเที่ยว และแบบที่ 2 เชิงคุณภาพ ด้วยการเสวนากลุ่ม ด้านปัจจัยการออกแบบรูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยในการท่องเที่ยวของผู้นำชุมชนและผู้ประกอบการโฮมสเตย์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการรับรู้ด้านปลอดภัยในการท่องเที่ยวของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดคือ มิติที่ 1 ประกอบด้วย การจัดให้มีที่จอดรถสำหรับผู้พิการ, การจัดให้มีป้ายสัญญลักษณ์ ที่มองเห็นได้ชัดทั้งกลางวัน กลางคืน และการจัดให้มีอุปกรณ์เสียงเพื่อเตือนภัยกรณีเกดเหตุฉุกเฉิน เช่น หอกระจายเสียง หรืออื่น ๆ และการจัดให้มีป้อมสำหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย มิติที่ 3 ประกอบด้วย การจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิง เช่น เครื่องดับเพลิง ตู้ดับเพลิง หัวฉีดน้ำดับเพลิง, การจัดให้มีไฟสัญญาณฉุกเฉิน สัญญาณเตือนเมื่อเกิดอัคคีภัย และการจัดให้มีทางหนีไฟ และมีจุดรวมพล มิติที่ 4 ประกอบด้วย การจัดให้มีเจล/แอลกอฮอล์ล้างมือ ณ จุดบริการต่าง ๆ และการจัดให้มีประกาศข้อควรปฏิบัติตนของผู้ใช้อาคารเป็นระยะ ทั้งนี้การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการท่องเที่ยวและการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย สู่ความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้กับชาวเกาะยอได้ ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในชุมชนที่คำนึงถึงหลักของความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงทรัพยากรการท่องเที่ยวในชุมชน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนา ภายใต้ความปรารถนาของคนในชุมชนอย่างแท้จริง
650
_7
‡aอุตสาหกรรมท่องเที่ยว‡zไทย‡xวิจัย
651
_7
‡aเกาะยอ‡xภูมิประเทศและการท่องเที่ยว‡xวิจัย
651
_7
‡aเกาะยอ‡xความเป็นอยู่และประเพณี‡xวิจัย
700
0_
‡aพรทิพย์ เรืองธรรม
700
0_
‡aกฤต โงว้ธนสุวรรณ
700
0_
‡aนพรัตน์ บุญเพียรผล
700
0_
‡aประกิต สิงห์ทอง
700
0_
‡aรุ่งทิวา ปุณะตุง
700
0_
‡aนงนุช เสนคำ
700
0_
‡aรังสรรค์ ตาลจรัส
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
199891
338.4791 ร415
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
พรทิพย์ เรืองธรรม, กฤต โงว้ธนสุวรรณ, นพรัตน์ บุญเพียรผล, ประกิต สิงห์ทอง, รุ่งทิวา ปุณะตุง, นงนุช เสนคำ, และ รังสรรค์ ตาลจรัส. (2563).
รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.)
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
พรทิพย์ เรืองธรรม, กฤต โงว้ธนสุวรรณ, นพรัตน์ บุญเพียรผล, ประกิต สิงห์ทอง, รุ่งทิวา ปุณะตุง, นงนุช เสนคำ, และ รังสรรค์ ตาลจรัส.
รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
พรทิพย์ เรืองธรรม, กฤต โงว้ธนสุวรรณ, นพรัตน์ บุญเพียรผล, ประกิต สิงห์ทอง, รุ่งทิวา ปุณะตุง, นงนุช เสนคำ, และ รังสรรค์ ตาลจรัส. 2563.
รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.).
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
พรทิพย์ เรืองธรรม, กฤต โงว้ธนสุวรรณ, นพรัตน์ บุญเพียรผล, ประกิต สิงห์ทอง, รุ่งทิวา ปุณะตุง, นงนุช เสนคำ, และ รังสรรค์ ตาลจรัส. รูปแบบการท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =. สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.); 2563.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
114
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.