ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1147765
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย = Model for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province / จำเนียร ชุณหโสภาค...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยรูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
Model for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province
Dewey Call #
338.4791 ร415
ผู้แต่งเพิ่มเติม
จำเนียร ชุณหโสภาค
วุฒิชัย อินทร์แก้ว
สมพล ทุ่งหว้า
รุ่งรัตนา เจริญจิตต์
เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร
หัวเรื่อง
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย(เกาะยอ)--วิจัย
อุบัติเหตุ--การป้องกัน--วิจัย
เกาะยอ--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
เกาะยอ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563
ชื่อเรื่อง
รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา : รายงานการวิจัย = Model for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province / จำเนียร ชุณหโสภาค...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัยรูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
Model for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province
Dewey Call #
338.4791 ร415
ผู้แต่งเพิ่มเติม
จำเนียร ชุณหโสภาค
วุฒิชัย อินทร์แก้ว
สมพล ทุ่งหว้า
รุ่งรัตนา เจริญจิตต์
เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร
พิมพลักษณ์
สงขลา : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563
หัวเรื่อง
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย(เกาะยอ)--วิจัย
อุบัติเหตุ--การป้องกัน--วิจัย
เกาะยอ--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว--วิจัย
เกาะยอ--ความเป็นอยู่และประเพณี--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
220 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
03460nam a2200277 4500
005
20211104142521.0
008
211104s2563 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a338.4791‡bร415
245
10
‡aรูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :‡bรายงานการวิจัย =‡bModel for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province /‡cจำเนียร ชุณหโสภาค...[และคนอื่นๆ]
246
30
‡aรายงานการวิจัยรูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
246
31
‡aModel for participating management of accidents to the tourists and residents in KohYor, community, Mueang district Songkhla province
260
__
‡aสงขลา :‡bกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.),‡c2563
300
__
‡a220 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520
__
‡aการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์อุบัติภัยที่เกิดกับนักท่องเที่ยว และคนในพื้นที่เกาะยอ เพื่อสร้างและประเมินรูปแบบการจัดการอุบัติภัยโดยการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่เกาะยอ วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลภาครัฐ/เอกชน/ประชาชนและนักท่องเที่ยวด้วยแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ 2 เก็บข้อมูลโดยการจัดประชุมสนทนากลุ่ม และขั้นตอนที่ 3 เก็บข้อมูลโดยการจัดเสวนาเพื่อประเมินรูปแบบการจัดการอุบัติภัย ผลการศึกษา 1) สถานการณ์การจัดการอุบัติภัยในพื้นที่เกาะยอ พบว่ากลุ่มภาคีภาครัฐ/เอกชน/ประชาชน และนักท่องเที่ยว เห็นด้วยกับมาตรการในการป้องกันและลดการเกิดอุบัติภัยทั้งทางบก ทางน้ำ และการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในด้านการดำเนินการตามมาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยมีการติดตั้งป้ายแสดงข้อมูลบอกตำแหน่งทิศทางสำหรับนักท่องเที่ยว มีข้อปฏิบัติ/คำแนะนำในการดำเนินการเมื่อเกิดอุบัติเหตุ มีการติดตั้งป้ายแสดงข้อห้ามและข้อปฏิบัติสำหรับนักท่องเที่ยวและมีการใช้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ขณะเดียวกันไม่แน่ใจกับการบังคับใช้มาตรการด้านความปลอดภัย ที่ว่ามีศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ มีเจ้าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ 24 ชั่วโมง มีเจ้าหน้าที่ประจำจุดเสี่ยง รวมทั้งในเรื่องความสามารถในการประสานขอรับการสนับสนุนด้านอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากหน่วยงานต่าง ๆ และไม่ใจระบบเตือนภัยที่มีมาตรฐานและมีความพร้อมในการใช้งาน โดยให้ข้อเสนอว่าควรจัดทำแผนป้องกันและแนวปฏิบัติในการจัดการอุบัติภัยที่มีความชัดเจนเพื่อสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง 2) การสร้างรูปแบบการจัดการอุบัติภัย โดยได้จัดทำเป็น "ร่างรูปแบบการจัดการอุบัติภัยทางบก ทางน้ำ และการแพร่ระบาดของโควิด-19" ซึ่งได้แบ่งการจัดการอุบัติภัยเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นการจัดการอุบัติภัยทางบก ทางน้ำ ส่วนที่ 2 เป็นการจัดการอุบัติภัยที่เกิดจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทั้งส่วนส่วนได้ดำเนินการใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วยขั้นตอน ก่อนเกิดเหตุ ระหว่างเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ และ 3) การประเมินรูปแบบการจัดการอุบัติภัยในประเด็นต่าง ๆ ที่สร้างขึ้น โดยเพิ่มเติมในเรื่องการกำหนดบทบาทหน้าที่ของภาคีภาครัฐ/เอกชน/ประชาชน ในการขับเคลื่อนการจัดการอุบัติภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพิ่มประเด็นการจัดการอุบัติภัยทางบก ทางน้ำ การแพร่ระบาดชองโรคโควิด-19 ให้มีขั้นตอนการดำเนินงานที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ได้จริงในพื้นที่เกาะยอ
650
_7
‡aอุตสาหกรรมท่องเที่ยว‡zไทย(เกาะยอ)‡xวิจัย
650
_7
‡aอุบัติเหตุ‡xการป้องกัน‡xวิจัย
651
_7
‡aเกาะยอ‡xภูมิประเทศและการท่องเที่ยว‡xวิจัย
651
_7
‡aเกาะยอ‡xความเป็นอยู่และประเพณี‡xวิจัย
700
0_
‡aจำเนียร ชุณหโสภาค
700
0_
‡aวุฒิชัย อินทร์แก้ว
700
0_
‡aสมพล ทุ่งหว้า
700
0_
‡aรุ่งรัตนา เจริญจิตต์
700
0_
‡aเสาวนีย์ สมันต์ตรีพร
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
199892
338.4791 ร415
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
จำเนียร ชุณหโสภาค, วุฒิชัย อินทร์แก้ว, สมพล ทุ่งหว้า, รุ่งรัตนา เจริญจิตต์, และ เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. (2563).
รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.)
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
จำเนียร ชุณหโสภาค, วุฒิชัย อินทร์แก้ว, สมพล ทุ่งหว้า, รุ่งรัตนา เจริญจิตต์, และ เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร.
รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.), 2563.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
จำเนียร ชุณหโสภาค, วุฒิชัย อินทร์แก้ว, สมพล ทุ่งหว้า, รุ่งรัตนา เจริญจิตต์, และ เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. 2563.
รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =.
สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.).
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
จำเนียร ชุณหโสภาค, วุฒิชัย อินทร์แก้ว, สมพล ทุ่งหว้า, รุ่งรัตนา เจริญจิตต์, และ เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. รูปแบบการจัดการอุบัติภัยอย่างมีส่วนร่วมที่เกิดกับนักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา :รายงานการวิจัย =. สงขลา :กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.); 2563.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
4.50/6
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
95
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.