ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1147773
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : รายงานวิจัย / พนัชกร พิทธิยะกุล...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานวิจัย การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
Dewey Call #
372.83 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติม
พนัชกร พิทธิยะกุล
ไหมไทย ไชยพันธุ์
ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
รุ่งรังสิมา สัตยาไชย
หัวเรื่อง
สังคมศาสตร์--การศึกษาและการสอน--วิจัย
หลักสูตร--วิจัย
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2563
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : รายงานวิจัย / พนัชกร พิทธิยะกุล...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่อง
รายงานวิจัย การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
Dewey Call #
372.83 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติม
พนัชกร พิทธิยะกุล
ไหมไทย ไชยพันธุ์
ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
รุ่งรังสิมา สัตยาไชย
พิมพลักษณ์
สงขลา : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2563
เนื้อหา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -- การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -- การพัฒนาหลักสูตร -- การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น -- หน่วยการเรียนรู้ -- ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับจังหวัดสงขลา -- วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm -- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- แนวความคิดการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- ความพึงพอใจ
หัวเรื่อง
สังคมศาสตร์--การศึกษาและการสอน--วิจัย
หลักสูตร--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ
120 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR
05145nam a2200241 4500
005
20211110114803.0
008
211110s2563 th a ||| | tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a372.83‡bก27
245
00
‡aการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :‡bรายงานวิจัย /‡cพนัชกร พิทธิยะกุล...[และคนอื่นๆ]
246
30
‡aรายงานวิจัย การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
260
__
‡aสงขลา :‡bคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,‡c2563
300
__
‡a120 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
505
2_
‡aหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -- การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -- การพัฒนาหลักสูตร -- การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น -- หน่วยการเรียนรู้ -- ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับจังหวัดสงขลา -- วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm -- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- แนวความคิดการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- ความพึงพอใจ
520
__
‡aการวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1)เพื่อศึกษาพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประเมินผลตามรายละเอียด ดังนี้ 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ 2.2) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เรียนชั้นประถมศึกาาปีที่ 6 โรงเรียนวิเชียรชม อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา จำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่าความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา ของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองอำนวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ4.23 จำแนกเป็นรายด้าน ด้านประวัติความเป็นมามีระดับความต้องการมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 รองลงมา คือ ด้านลักษณะทางภูมิศาสตร์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และด้านลักษณะทางเศรษฐกิจมีค่าเฉลี่ยความต้องการน้อยที่สุดเท่ากับ 4.12 ผลการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา และการตรวจสอบคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา ประกอบด้วยโครงสร้างเนื้อหาตามหน่วยการเรียนรู้ มี 7 เรื่อง คือ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ประวัติความเป็นมา ลักษณะทางประชากร บุคคลสำคัญ ลักษณะทางเศรษฐกิจ ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และการอนุรักษ์และการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้เวลาในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ทั้งสิ้น 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง รวม 18 ชั่วโมง ตามองค์ประกอบของการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น ได้แก่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้น หลัการ จุดมุ่งหมาย ผังความคิดประจำหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลาเรียนวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล องค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเราโดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.96 มีค่าดัชนีความสอดคล้องในแต่ละข้อตั้งแต่ 0.6.-1.00 ในภาพรวมเท่ากับ 0.96 ดังนั้นจึงเป็นตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.21 ซึ่งผ่านเกณฑ์ในระดับดีมาก และ 2) ความพึงพอใจของผู้เรียนทีมีต่อการเรียนด้วยการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เรียนมีระดับความพึงพอใจที่อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 รองลงมาผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก คือ ด้านการจัดกอจกรรมการเรียนรู้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 ด้านการวัดผลค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 ด้านเนื้อหาสาระค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ตามลำดับ
650
_7
‡aสังคมศาสตร์‡xการศึกษาและการสอน‡xวิจัย
650
_7
‡aหลักสูตร‡xวิจัย
700
0_
‡aพนัชกร พิทธิยะกุล
700
0_
‡aไหมไทย ไชยพันธุ์
700
0_
‡aขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์
700
0_
‡aรุ่งรังสิมา สัตยาไชย
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
199889
372.83 ก27
ผลงานอาจารย์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 4
ใช้ภายในห้องสมุด
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
พนัชกร พิทธิยะกุล, ไหมไทย ไชยพันธุ์, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์, และ รุ่งรังสิมา สัตยาไชย. (2563).
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :รายงานวิจัย .
สงขลา :คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
พนัชกร พิทธิยะกุล, ไหมไทย ไชยพันธุ์, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์, และ รุ่งรังสิมา สัตยาไชย.
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :รายงานวิจัย .
สงขลา :คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2563.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
พนัชกร พิทธิยะกุล, ไหมไทย ไชยพันธุ์, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์, และ รุ่งรังสิมา สัตยาไชย. 2563.
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :รายงานวิจัย .
สงขลา :คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
พนัชกร พิทธิยะกุล, ไหมไทย ไชยพันธุ์, ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์, และ รุ่งรังสิมา สัตยาไชย. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สงขลาบ้านเรา โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivsm กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :รายงานวิจัย . สงขลา :คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา; 2563.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
132
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.