เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147787    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 : รายงานการวิจัย / จิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์, ทิตยา ศรีสุวรรณ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555
 A Curriculum Evaluation on Master of Arts in Psychology (the curriculum revised i B.E. 2012)
Dewey Call #378.199 จ34ก
ผู้แต่งจิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์
ผู้แต่งเพิ่มเติมทิตยา ศรีสุวรรณ
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา
หัวเรื่องหลักสูตร--วิจัย
 จิตวิทยา--หลักสูตร--วิจัย
 การประเมินหลักสูตร--วิจัย
 การประเมินผลทางการศึกษา--วิจัย
พิมพลักษณ์ปัตตานี : ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
ชื่อเรื่องการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 : รายงานการวิจัย / จิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์, ทิตยา ศรีสุวรรณ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555
 A Curriculum Evaluation on Master of Arts in Psychology (the curriculum revised i B.E. 2012)
Dewey Call #378.199 จ34ก
ผู้แต่งจิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์
ผู้แต่งเพิ่มเติมทิตยา ศรีสุวรรณ
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา
พิมพลักษณ์ปัตตานี : ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2560
หัวเรื่องหลักสูตร--วิจัย
 จิตวิทยา--หลักสูตร--วิจัย
 การประเมินหลักสูตร--วิจัย
 การประเมินผลทางการศึกษา--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ103 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 03647nam a2200253 4500
005 20211117103237.0
008 211117s2560 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a378.199‡bจ34ก
1000_‡aจิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์
24510‡aการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 :‡bรายงานการวิจัย /‡cจิตราภรณ์ กำจรศุภสวัสดิ์, ทิตยา ศรีสุวรรณ
24630‡aรายงานการวิจัย การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555
24631‡aA Curriculum Evaluation on Master of Arts in Psychology (the curriculum revised i B.E. 2012)
260__‡aปัตตานี :‡bภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,‡c2560
300__‡a103 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อประเมินคุณภาพของหลักสูตร โดยใช้แบบจำลองการประเมิน CIPP Model ของ Daniel L. Stufflebeam มาประยุกต์ใช้ประเมินใน 4 ด้านคือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย นักศึกษาปัจจุบัน จำนวน 16 คน ผู้สอน จำนวน 3 คน และผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 14 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านบริบท พบว่า หลักสูตรเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีจำเป็นต่อสถานการณ์ในสังคมปัจจุบัน มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนตลาดแรงงานและสังคม ตอบสนองต่อผู้เรียนในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางด้านจิตวิทยาไปใช้ในการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางด้านจิตใจในสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2) ด้านปัจจัยนำ พบว่า หลักสูตรเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โครงสร้างและเนื้อหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปัจจัยเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สอนและผู้เรียนมีความเหมาะสม จำนวนห้องเรียนมีเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน มีสื่อ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะกับการจัดการเรียนการสอน ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอยู่ในระดับปานกลาง 3) ด้านกระบวนการ พบว่า หลักสูตรเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรสอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทันสมัย มีห้องสมุดสำหรับการสืบค้นข้อมูล เอกสารตำราเรียน เอกสารงานวิจัย สภาพแวดล้อมมีเหมาะกับการจัดการเรียนการสอน มีการวัดและประเมินรายวิชาตามเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ กระบวนการจัดทำวิทยานิพนธ์ที่เป็นไปตามระเบียบ มีการกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์เพื่อเป็นแนวทางในการค้นคว้าวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ 4) ด้านผลผลิต พบว่า หลักสูตรจิตวิทยาสามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเชี่ยวชาญในด้านจิตวิทยามากขึ้น และระดับมากที่สุด คือ ทำให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีคุณธรรมและจริยรรรมในวิชาชีพ เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล สังคม และวัฒนธรรม ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ภาพรวมมรความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ด้านคุณธรรม จริยธรรม และทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะทางปัญญา ทักษะด้านความรู้ความสามารถ และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผลการสอบวิทยานิพนธ์ผู้เรียนส่วนใหญ่สอบผ่านที่ระดับ Satisfactory และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาเกินระยะเวลาของหลักสูตร
650_7‡aหลักสูตร‡xวิจัย
650_7‡aจิตวิทยา‡xหลักสูตร‡xวิจัย
650_7‡aการประเมินหลักสูตร‡xวิจัย
650_7‡aการประเมินผลทางการศึกษา‡xวิจัย
7000_‡aทิตยา ศรีสุวรรณ
7102_‡aมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี‡bภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
199897378.199 จ34กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด