เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147797    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องกระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย / พระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
ชื่อเรื่องA teaching process of insight meditation based on buddhist psychology for different ages
Dewey Call #294.35 พ17ก 2561
ผู้แต่งพระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย--วิทยานิพนธ์
 วิปัสสนา--วิจัย
 กรรมฐาน--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2561
ชื่อเรื่องกระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย / พระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
ชื่อเรื่องA teaching process of insight meditation based on buddhist psychology for different ages
Dewey Call #294.35 พ17ก 2561
ผู้แต่งพระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
พิมพลักษณ์ 2561
เนื้อหาหลักการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท -- หลักพุทธวิธีการสอนที่ปรากฎในพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆ -- แนวคิดทฤษฎีพัฒนาการตามช่วงวัยของมนุษย์ -- แนวคิดพุทธจิตวิทยาการศึกษา -- แนวคิดการจัดการเรียนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยา
หมายเหตุดุษฎีนิพนธ์ (พธ.ด.(สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา)) -- มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2561
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย--วิทยานิพนธ์
 วิปัสสนา--วิจัย
 กรรมฐาน--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ฐ], 181 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04662nam a2200229 4500
005 20211118140630.0
008 211118s2561 th a m ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a294.35‡bพ17ก 2561
1000_‡aพระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
24510‡aกระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย /‡cพระครูปทุมภาวนาจารย์ วิ. (วีระนนท์ วีรนนฺโท)
24631‡aA teaching process of insight meditation based on buddhist psychology for different ages
260__‡c2561
300__‡a[ก-ฐ], 181 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aดุษฎีนิพนธ์ (พธ.ด.(สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา)) -- มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2561
5052_‡aหลักการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท -- หลักพุทธวิธีการสอนที่ปรากฎในพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆ -- แนวคิดทฤษฎีพัฒนาการตามช่วงวัยของมนุษย์ -- แนวคิดพุทธจิตวิทยาการศึกษา -- แนวคิดการจัดการเรียนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยา
520__‡aงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1)เพื่อศึกษาพุทธวิธีการสอนตามหลักพระพุทธศาสนา สำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัยในสำนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน 2) เพื่อศึกษากระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย และ 3) เพื่อเสนอกระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาที่เหมาะสมสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เริ่มจากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับพุทธวิธีการสอนตามหลักพระพุทธศาสนาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัยในสำนักปฏิบัติกรรมฐานในอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการลงพื้นที่สำรวจ สังเกตการณ์ เก็บข้อมูลเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาสำหรับบุคคลละช่วงวัย โดยวิธีการสัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มย่อย พระวิปัสสนาจารย์ และผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชน (อายุไม่เกิน 18 ปี) และกลุ่มผู้ใหญ่ (อายุ 18 ปีขึ้นไป) ทำการวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์กระบวนการการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาที่เหมาะสมสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย ผลวิจัยพบว่า 1. พุทธวิธีการสอนตามหลักพระพุทธศาสนาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัยในสำนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน 1. หัวข้อและเนื้อหาที่สอน เริ่มจากเรื่องที่สร้างความเข้าใจและปฏิบัติง่ายๆไปสู่ระดับที่ยากขึ้น ใช้เรื่องจริงประจักษ์ที่เทียบเคียงได้เป็นตัวอย่าง ชี้ให้เห็นถึงเหตุและผลของเรื่องราวดังกล่าว และเกิดประโยชน์ที่ผู้ฟังนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของผู้ฟัง 2. วิธีการและลีลาการสอน ซึ่งใช้เป็นหลักที่เหมาะสมสำหรับบุคคลทุกช่วงวัย คือ (1) อธิบายให้ชัดเจนแจ่มแจ้ง 2) จูงใจให้คล้อยตามและเร้าใจให้แกล้วกล้า 3) ให้มีการถามโต้ตอบ 4) กำหนดกฎเกณฑ์การเรียนรู้ 5) ตรงตามจริต และความสุกงอมของอินทรีย์/ญาณของผู้ฟัง 6) สอนให้ปฏิบัติ 2. กระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทจิตวิทยาสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย ครอลคลุมประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1) เนื้อหาสาระที่ใช้สอน สำหรับกลุ่มเยาวชนจะนำด้วยการใช้กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเดี่ยว และเสริมด้วยธรรมบรรยายตามลำดับ ส่วนกลุ่มผู้ใหญ่เริ่มด้วยกิจกรรมเดี่ยว ตามด้วยธรรมบรรยาย และการทำกิจกรรมกลุ่ม และเทคนิคที่ใช้เป็นกิจกรรมสำคัญสำหรับกลุ่มผู้ใหญ่ในสำนักปฏิบัติธรรมกรรมฐานทั่วไป คือ การสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น การปฏิบัติภาวนา การฟังธรรมบรรยายและการปิดวาจา 3) การวัดและประเมินผล ในกลุ่มเยาวชนมีวิธีการที่หลากหลายตามพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กแต่ละช่วงวัย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของพระวิทยากร หรือพระพี่เลี้ยง โดยทั่วไปจะแบ่งการวัด การประเมินผลเป็น 3 ขั้นตอน คือ ระหว่างการทำกิจกรรม และติดตามประเมินซ้ำหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม สำหรับกลุ่มผู้ใหญ่ใช้การสอบอารมณ์ ตามรับรู้อารมณ์ สังเกตพฤติกรรมและการประเมินตนเอง โดยรับรู้ผลการปฏิบัติ จากข้อมูลย้อนกลับของพระวิปัสสนาจารย์ 3. กระบวนการสอนวิปัสสนากรรมฐานตามหลักพุทธจิตวิทยาที่เหมาะสมสำหรับบุคคลแต่ละช่วงวัย กระบวนการสอบปฏิบัติธรรมในภาพรวมประกอบด้วย 5 ขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 1) ใช้ธรรมจิยาผู้สอน 5 ประการ คือ (1) สอนตามลำดับ (2) มีเหตุผลประกอบ (3) มีจิตเมตตา (4)ไม่เห็นแก่อามิส (5) ไม่กระทบต่อผู้อื่น 2) จำแนกกลุ่มผู้เรียนตามช่วงวัย และตามประสบการณ์การปฏิบัติธรรม กลุ่มช่วงวัยที่เหมาะสมมี 5 ระดับ คือ กลุ่มเยาวชน 3 ช่วง คือ อายุต่ำกว่า 12 ปี, อายุ 12-15 ปี, อายุ 13-18 ปี สำหรับกลุ่มผู้ใหญ่แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ 3) การสรรเนื้อหาให้เหมาะสมตามวัยผู้เรียน 4) การดำเนินการสอนในกลุ่มวัยรุ่ยใช้การบรรยายธรรม ทำกิจกรรมกลุ่ม และกิจกรรมเดี่ยว ในกลุ่มผู้ใหญ่มีเทคนิค 9 ประการ คือ (1) สอดคล้องกับจริตคน (2) อธิบายให้ชัดเจน (3) เริ่มจากง่ายไปยาก จากกว้างไปลึก (4) ให้ซักถามย้อนกลับ (5) จูงใจให้ศรัทธา (6) เร้าใจให้แกล้วกล้า (7) คนเรียนช้าตามทัน (8) การฝึกฝนด้วยตนเอง (9) สร้างส่วนร่วมในการเรียนรู้ 5) การวัดและการประเมินผลมี 3 ระยะ คือก่นฝึก ระหว่างฝึก และเมื่อสิ้นสุดการฝึก มีวิธีการวัดและการประเมิน 3 วิธี คือ (1) วัดผลและการประเมินตนเอง โดยการติดตามดูอารมณ์ให้เท่าทัน (2) การสอบอารมณ์โดยพระวิปัสสนาจารย์ และได้รับข้อมูลย้อนกลับถึงผลแห่งการปฏิบัติ (3) การวัดด้วยเครื่องมือวัดผลเป็นแบบวัดความพึงพอใจและความคิดเห็น
61027‡aมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย‡xวิทยานิพนธ์
650_7‡aวิปัสสนา‡xวิจัย
650_7‡aกรรมฐาน‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200080294.35 พ17ก 2561วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด