เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147809    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการต่อรองของแรงงานพม่าในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสงขลา / เพ็ญนภา จันทร์แดง
ชื่อเรื่องThe Negotiation of myanmar migrant workers in Factory in Songkhla province, Thailand
Dewey Call #331.62 พ53ก 2561
ผู้แต่งเพ็ญนภา จันทร์แดง
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สาขาเอเชียศึกษา
หัวเรื่องแรงงานต่างด้าวพม่า--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2561
ชื่อเรื่องการต่อรองของแรงงานพม่าในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสงขลา / เพ็ญนภา จันทร์แดง
ชื่อเรื่องThe Negotiation of myanmar migrant workers in Factory in Songkhla province, Thailand
Dewey Call #331.62 พ53ก 2561
ผู้แต่งเพ็ญนภา จันทร์แดง
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สาขาเอเชียศึกษา
พิมพลักษณ์ 2561
เนื้อหาการสำรวจงานเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้อพยพข้ามพรหมแดน -- บริบทพื้นที่ของและชุมชน -- บริบทโรงงาน -- บริบทชุมชน -- บริบทความสัมพันธ์ระหว่างแรงงานและชุมชน -- วิถีชีวิตของแรงงานพม่าในโรงงาน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าในโรงงาน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าที่สัมพันธ์กับคนในชุมชน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าที่สัมพันธ์กับคนในประเทศต้นทาง
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (สาขาเอเชียศึกษา))--มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2561
หัวเรื่องแรงงานต่างด้าวพม่า--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[1-10], 215 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02107nam a2200217 4500
005 20211122115339.0
008 211122s2561 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a331.62‡bพ53ก 2561
1000_‡aเพ็ญนภา จันทร์แดง
24510‡aการต่อรองของแรงงานพม่าในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสงขลา /‡cเพ็ญนภา จันทร์แดง
24631‡aThe Negotiation of myanmar migrant workers in Factory in Songkhla province, Thailand
260__‡c2561
300__‡a[1-10], 215 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (สาขาเอเชียศึกษา))--มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2561
5052_‡aการสำรวจงานเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้อพยพข้ามพรหมแดน -- บริบทพื้นที่ของและชุมชน -- บริบทโรงงาน -- บริบทชุมชน -- บริบทความสัมพันธ์ระหว่างแรงงานและชุมชน -- วิถีชีวิตของแรงงานพม่าในโรงงาน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าในโรงงาน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าที่สัมพันธ์กับคนในชุมชน -- วิถีชีวิตแรงงานพม่าที่สัมพันธ์กับคนในประเทศต้นทาง
520__‡aการศึกษาการต่อรองของแรงงานพม่าในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เลือกศึกษากลุ่มแรงงานพม่าประมาณ 2,000 คน ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสงขลาซึ่งว่าจ้างแรงงานข้ามชาติเพียงสัญญาติเดียวคือ สัญชาติพม่า โดยแรงงานทั้งหมดเป็นกลุ่มแรงงานที่เข้ามาทำงานตามข้อตกลงระหว่างรัฐ (MOU) ผู้วิจัยใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มโดยวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ เพื่อวิเคราะห์วิธีการ กลไกและกระบวนการที่แรงงานพม่าใช้ในการต่อรองความสัมพันธ์กับกลุ่มต่าง ๆ จากการศึกษาพบว่า แรงงานพม่ามีการต่อรองความสัมพันธ์กับโรงงานโดยพบทั้งการต่อรองแบบเป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งคณะกรรมการกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อการต่อรองและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโรงงาน หรือการแสดงตนเป็นลูกจ้างที่ดี การเป็นลูกจ้างผู้ขยันขันแข็งและการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงงานอย่างเคร่งครัด ในส่วนของการต่อรองกับชุมชน แรงงานพม่าใช้วิธีสร้างการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและการแสดงตนเป็นผู้ที่มีจิตอาสาเพื่อทำคุณประโยชน์ให้กับสังคมที่พวกเขาอยู่อาศัย ทำให้เกิดการยอมรับจากชาวชุมชนในพื้นที่ ส่งผลทำให้การอยู่ร่วมกันระหว่างชาวชุมชนในพื้นที่กับแรงงานพม่าในโรงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
650_7‡aแรงงานต่างด้าวพม่า‡xวิจัย
7102_‡aมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์‡bสาขาเอเชียศึกษา
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
199959331.62 พ53ก 2561วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด