เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147846    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเสริมสร้างการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ด้วยรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการ / มณีนุช รองพล
Dewey Call #303.69 ม14ก 2563
ผู้แต่งมณีนุช รองพล
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยบูรพา. สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
 ความขัดแย้งทางสังคม--วิจัย
 การก่อการร้าย--ไทย (ภาคใต้)--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2563
ชื่อเรื่องการเสริมสร้างการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ด้วยรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการ / มณีนุช รองพล
Dewey Call #303.69 ม14ก 2563
ผู้แต่งมณีนุช รองพล
พิมพลักษณ์ 2563
เนื้อหาการวจิยัครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย1) เพื่อศึกษาปัจจยัเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 2) เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการที่มีต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ แบ่งเป็น 2กลุ่ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มตวัอย่างที่ใช้ในการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผล ต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายจากนักศึกษาจำนวน 420 คน กลุ่มที่ 2 คัดเลือกโดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจากนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 30 คนเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวจิยั ได้แก่1) แบบวัดการฟื้นคืนทางอารมณ์2)รูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการ ซึ่งประกอบไปด้วย 2.1) รูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการรายบุคคลโดยใช้ทฤษฎีการปรึกษาพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเป็นฐาน ดำเนินการจำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที 2.2)รูปแบบการปรึกษาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้น ดำเนินการจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาทีผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. โมเดลเส้นทางปัจจยัที่ส่งผลต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวไดรับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใตมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยตัวแปรการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรการเห็นคุณค่าในตนเอง การควบคุมตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการมองโลกในแง่ดีซึ่งมีขนาดอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.22, 0.25, 0.11 และ 0.33 ตามลำดับ และตัวแปรการเห็นคุณค่าในตนเองการควบคุมตนเองการสนับ สนุนทางสังคม และการมองโลกในแง่ดีร่วมกันทำนายตัวแปรการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้ร้อยละ 58 2. การศึกษาผลของรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการที่มีต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ มีดังนี้ 2.1 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิคโดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมเป็นฐาน มีค่าเฉลี่ยคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์ในระยะหลังการทดลองและระยะการติดตามผลสูงขึ้นกว่า ระยะก่อนการทดลอง2.2 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการผ่านสื่อสังคมออนไลน์แนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเน้น ทางออกระยะสั้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์ในระยะหลังการทดลองและระยะการติดตามผลสูงขึ้นกว่าระยะก่อนการทดลอง 2.3 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิคโดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมเป็นฐาน มีคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์สูงกว่ากลุ่มควบคุม 2.4 นกัศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการผ่านสื่อสังคมออนไลน์แนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเน้น ทางออกระยะสั้น มีคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์สูงกว่ากลุ่มควบคุม
หมายเหตุดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
หัวเรื่องมหาวิทยาลัยบูรพา. สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
 ความขัดแย้งทางสังคม--วิจัย
 การก่อการร้าย--ไทย (ภาคใต้)--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ[ก-ฒ],321 แผ่น
LDR 03213nam a2200205 4500
005 20211125161319.0
008 211125s2563 th ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a303.69‡bม14ก 2563
1000_‡aมณีนุช รองพล
24510‡aการเสริมสร้างการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ด้วยรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการ /‡cมณีนุช รองพล
260__‡c2563
300__‡a[ก-ฒ],321 แผ่น
502__‡aดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
5052_‡aการวจิยัครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย1) เพื่อศึกษาปัจจยัเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 2) เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการที่มีต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ แบ่งเป็น 2กลุ่ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มตวัอย่างที่ใช้ในการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผล ต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายจากนักศึกษาจำนวน 420 คน กลุ่มที่ 2 คัดเลือกโดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจากนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 30 คนเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวจิยั ได้แก่1) แบบวัดการฟื้นคืนทางอารมณ์2)รูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการ ซึ่งประกอบไปด้วย 2.1) รูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการรายบุคคลโดยใช้ทฤษฎีการปรึกษาพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเป็นฐาน ดำเนินการจำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที 2.2)รูปแบบการปรึกษาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้น ดำเนินการจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาทีผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. โมเดลเส้นทางปัจจยัที่ส่งผลต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวไดรับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใตมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยตัวแปรการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรการเห็นคุณค่าในตนเอง การควบคุมตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการมองโลกในแง่ดีซึ่งมีขนาดอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.22, 0.25, 0.11 และ 0.33 ตามลำดับ และตัวแปรการเห็นคุณค่าในตนเองการควบคุมตนเองการสนับ สนุนทางสังคม และการมองโลกในแง่ดีร่วมกันทำนายตัวแปรการฟื้นคืนทางอารมณ์ได้ร้อยละ 58 2. การศึกษาผลของรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการที่มีต่อการฟื้นคืนทางอารมณ์ของนักศึกษาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ มีดังนี้ 2.1 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิคโดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมเป็นฐาน มีค่าเฉลี่ยคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์ในระยะหลังการทดลองและระยะการติดตามผลสูงขึ้นกว่า ระยะก่อนการทดลอง2.2 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการผ่านสื่อสังคมออนไลน์แนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเน้น ทางออกระยะสั้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์ในระยะหลังการทดลองและระยะการติดตามผลสูงขึ้นกว่าระยะก่อนการทดลอง 2.3 นักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิคโดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมเป็นฐาน มีคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์สูงกว่ากลุ่มควบคุม 2.4 นกัศึกษาที่ได้รับรูปแบบการปรึกษาเชิงบูรณาการผ่านสื่อสังคมออนไลน์แนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเน้น ทางออกระยะสั้น มีคะแนนการฟื้นคืนทางอารมณ์สูงกว่ากลุ่มควบคุม
61027‡aมหาวิทยาลัยบูรพา‡bสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
650_7‡aความขัดแย้งทางสังคม‡xวิจัย
650_7‡aการก่อการร้าย‡zไทย (ภาคใต้)‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
199957303.625 ม14กวิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด