เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147923    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องวิชชาจรณสัมปันโนเพื่อการหลุดพ้นในกระบวนทัศน์บูรณาการ = = Vijjacaranasampanno for liberation on the integral paradigm / อภิสิน ศิวยาธร
Dewey Call #294.301 อ16ว 2555
ผู้แต่งอภิสิน ศิวยาธร
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์
หัวเรื่องการปฏิบัติธรรม--วิจัย
 ธรรมะ--วิจัย
 พุทธศาสนา--วิจัย
 เศรษฐกิจพอเพียง--แง่ศาสนา
 การดำเนินชีวิต--วิจัย
พิมพลักษณ์ 2555
ชื่อเรื่องวิชชาจรณสัมปันโนเพื่อการหลุดพ้นในกระบวนทัศน์บูรณาการ = = Vijjacaranasampanno for liberation on the integral paradigm / อภิสิน ศิวยาธร
Dewey Call #294.301 อ16ว 2555
ผู้แต่งอภิสิน ศิวยาธร
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์
พิมพลักษณ์ 2555
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(พัฒนบูรณาการศาสตร์))--มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2555
หัวเรื่องการปฏิบัติธรรม--วิจัย
 ธรรมะ--วิจัย
 พุทธศาสนา--วิจัย
 เศรษฐกิจพอเพียง--แง่ศาสนา
 การดำเนินชีวิต--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ432 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04470nam a2200241 4500
005 20211216104115.0
008 211215s2555 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a294.301‡bอ16ว 2555
1000_‡aอภิสิน ศิวยาธร
24510‡aวิชชาจรณสัมปันโนเพื่อการหลุดพ้นในกระบวนทัศน์บูรณาการ =‡b= Vijjacaranasampanno for liberation on the integral paradigm /‡cอภิสิน ศิวยาธร
260__‡c2555
300__‡a432 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(พัฒนบูรณาการศาสตร์))--มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2555
520__‡aการศึกษาเรื่อง"วิชชาจรณสัมปันโนเพื่อการหลุดพ้นในกระบวนทัศน์บูรณาการ" เป็นการค้นคว้าที่ยึดถือแนวทางพุทธธรรม เพื่อเพิ่มการเกิดสติปัญญาในการพัฒนาของมนุษยชาติในศตวรรษที่ 21 กระบวนทัศน์ใหม่ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาจากกลุ่มของเคน วิลเบอร์ (Ken Wilber) ซึ่งเป็นความคิดจากตะวันตกและมีส่วนที่เชื่อมต่อกับพุทธธรรมมาแล้วระดับหนึ่งประกอบกับแนวคิดบูรณาการเกลียวพลวัต (Integral Spiral Dynamics) อันเป็นแนวทางพหุนิยมบูรณาการ (Integral Pluralism) ซึ่งวิเคราะห์ความเป็นจริงในการดำเนินชีวิตแย่างเป็นองค์รวม โดยผ่านการเรียนรู้ฝึกฝนแบบบูรณาการ (Integral Practices) ในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง ในจตุรภาคของการพัฒนามนุษยชาติ ได้แก่ ภาคจิต ภาคพฤติกรรม ภาคสังคมสิ่งแวดล้อม ภาควัฒนธรรมโลก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาองค์ความรู้ของผู้มีวิชชาจรณสัมปันโน ที่สัมฤทธิผลด้วยการดำเนินจรณะ 15 วิชชา 8 อย่างเป็นลำดับ ในระดับกระบวนทัศน์ตามแนวทางบูรณาการ โดยมีคำถามวิจัยหลักว่าด้วยองค์ความรู้จรณะ 15 วิชชา 8 ระดับใดที่ส่งเสริมยกระดับจิตวิญญาณมนุษย์เข้าสู่อริยชนขั้นต้นได้ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพในแนวทางปรากฎการณ์วิทยา (Phenomenology) และแนวทางบูรณาการญาณวิทยา (Integral Epistemology) ของตะวันตกและของแนวทางพุทธะรรมตะวันออกที่มีระบบการศึกษาครบพร้อมทั้งปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ตามหลักทางสายกลางบนพื้นฐานไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อให้ได้ผลเป็นความปรกติสุขในชีวิตประจำวัน โดยมีหลักระเบียบ วิธีวิจัยในการค้นหาความจริงอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้องค์ความรู้พุทธธรรมยกระดับจากความเชื่อศรัทธาที่สูงกว่าความงมงายให้มีเป็นศรัทธาที่ประกอบด้วยปัญญาที่พ้นจากสมมุติสัจจะจนกระทั่งสามารถมีประสบการณ์ของญาณทัสสนะก้าวข้ามผ่าน (Transcend) อำนาจกิเลสมูลคือ โลภ โกรธ หลง เพื่อช่วยเหลือจิตวิญญาณของตนเองและหมู่กลุ่มชุมชนไปจนถึงมนุษยชาติทั้งปวง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ทางออกจากวิกฤตโลกจำต้องมีปีญญารู้ชัดถึงขั้นปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่มีการปฏิบัติได้จนถึงขั้นปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่เป็นวิถีแห่งปัญญาญาณ (Path of Wisdom) ในแนวทางพุทธรรม 4 ประการ ประกอบด้วย "วิถีโลกบูรณาการ - วิถีพอเพียง -- วิถีชุมชน -- วิถีธรรม" ที่มีองค์รวมเป็นหนึ่งเดียวกันประดุจดังพรหม 4 หน้า ดังนี้ 1) การดำเนินชีวิตวิถีโลกบูรณาการควรเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่มีกระแสขับเคลื่อนการพัฒนาจิตสำนึกรักษ์โลกสิ่งแวดในวิถีชีวิตแบบเรียบง่ายและเป็นมิตรกับเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 2)วิถีพอเพียงเป็นรูปธรรมของวิถีชีวิตที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 และช่วยโลกได้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชของประเทศไทย มีเป้าหมายชีวิตที่พึงประสงค์ ได้แก่ ความยั่งยืน ความสมดุล และความมั่นคง ซึ่งมีประโยชน์สุขหรือความร่มเย็นเป็นสุขแก่มนุษยชาติ 3) วิถีชุมชนได้เลือกศึกษาชุมชนชาวอโศกอันเป็นรูปธรรมของชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พัฒนาไปได้ถึงระดับโลกุตตระทีผลเป็นสมณะได้ตามหลักสามัญญผล อันมีภาคมรรค คือ จรณะ 15 วิชชา 8 ในเสขปฎิปทาสูตร ซึ่งเป็นการฝึกฝนไตรสิกขาขั้นสูงขึ้นเป็นอธิศีล อธิปัญญาด้วยการถือศีล 5 ละอบายมุข จึงทำให้ปิดอบายภูมิได้ และสามารถเป็นชุมชนที่มีภูมิคุ้มกันต่อวัฒนธรรมบริโภคนิยมของลัทธิทุนนิยมได้ 4) วิถีธรรมได้ค้นคว้าเจาะลึกหมวดธรรมต่าง ๆ ที่เน้นย้ำสู่โลกุตตตระได้ เช่น วิชชา 8 เป็นหลักสำคัญตามความเชื่อมั่นหรือศรัทธาในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางการศึกษาวิจัยทางวิชาการในอนาคต เพื่อขยายผลเป็นรูปธรรมในขั้นการประยุกต์ใช้งานพัฒนบูรณาการอย่างเป็นระบบให้มีผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น 4 ประการ 1) ในวิถีโลกบูรณาการมีการนำเสนอองค์ความรู้วิชชาจรณสัมปันโน 3 ระดับที่สัมพันธ์ตะวันตก ซึ่งจัดระดับขั้นของความคิด (Westem Tier of Thinking) ไว้ 3 ขั้นอันเป็นกรอบการนกระดับจิตสำนึก(basic levels of consciousness) 10 ระดับ 2) ในวิถีพอเพียงมีภาพรวม ของแนวทางการพัฒนาทางโลกว้ตถุและโลกจิตวิญญาณของมนุษยชาติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงถึงระดับโลกุตตระได้ 3) ในวิถีชุมชนได้เสนอตัวแบบบูรณาการของพัฒนาการสู่โลกุตตระของชาวอโศก 4) ในวิถีธรรมมีปัญญาญาณสู่การตรัสรู้ไดเในแผนภูมิพัฒนาการของอริยบุคคล 4 โดยลำดับ กับแผนภูมิผู้มีวิชชาจนณสัมปันโนที่มีญาณ 3 แบบองค์รวมในการเข้าถึงอริยสัจ 4
650_7‡aการปฏิบัติธรรม‡xวิจัย
650_7‡aธรรมะ‡xวิจัย
650_7‡aพุทธศาสนา‡xวิจัย
650_7‡aเศรษฐกิจพอเพียง‡xแง่ศาสนา
650_7‡aการดำเนินชีวิต‡xวิจัย
7102_‡aมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี‡bสาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
199956294.301 อ16ว 2555วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด