เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147925    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเชื่อมโยงกับเบื้องบนในพิธีกรรมการรักษาโรค : กรณีศึกษาการเหยียบเสนของโนรา / ณัฐพงศ์ บัวคง
Dewey Call #131 ณ113ก 2561
ผู้แต่ง131ณัฐพงศ์ บัวคง
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยนเรศวร. สาขาวิชาคติชนวิทยา
หัวเรื่องโนรา--พิธีกรรม--วิจัย
 ปรจิตวิทยากับการแพทย์
พิมพลักษณ์ 2561
ชื่อเรื่องการเชื่อมโยงกับเบื้องบนในพิธีกรรมการรักษาโรค : กรณีศึกษาการเหยียบเสนของโนรา / ณัฐพงศ์ บัวคง
Dewey Call #131 ณ113ก 2561
ผู้แต่ง131ณัฐพงศ์ บัวคง
ผู้แต่งเพิ่มเติมมหาวิทยาลัยนเรศวร. สาขาวิชาคติชนวิทยา
พิมพลักษณ์ 2561
หมายเหตุวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (คติชนวิทยา))--มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2561
หัวเรื่องโนรา--พิธีกรรม--วิจัย
 ปรจิตวิทยากับการแพทย์
ลักษณะทางกายภาพ83 แผ่น
LDR 01840nam a2200205 4500
005 20211217105220.0
008 211216s2561 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a131‡bณ113ก 2561
1000_‡a131‡bณัฐพงศ์ บัวคง
24510‡aการเชื่อมโยงกับเบื้องบนในพิธีกรรมการรักษาโรค :‡bกรณีศึกษาการเหยียบเสนของโนรา /‡cณัฐพงศ์ บัวคง
260__‡c2561
300__‡a83 แผ่น
502__‡aวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (คติชนวิทยา))--มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2561
520__‡aงานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเชื่อมโยงกับเบื้องบนในลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฎในพิธีกรรมเหยียบเสนของโนรา ใช้การสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่มีผู้เก็บรวบรวมเกี่ยวกับพิธีกรรมเหยียบเสนของโนรา ใช้การสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่มีผู้เก็บรวบรวมเกี่ยวกับพิธีกรรมเหยียบเสนไว้ในพื้นที่ 5 จังหวัดที่มีอาณาเขตใกล้เคียงลุ่มน้ำทะเลสสาบสงขลาซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของโนรา คือ จังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง จังหวัดปัตตานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดตรังอันประกอบไปด้วยเอกสาร ดังนี้ 1) การศึกษาเฉพาะทางด้านสาธารณสุขเรื่องภูมิปัญญาการเหยียบเสนของหมอมโนราห์ กรณีศึกษา: หมอมโนราห์ชม ชัยเพชร ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ของนุชนาถ ช่วยสง 2) รายงานการวิจัยเรื่องโนราโรงครูคณะเฉลิมประพา จังหวัดปัตตานี ของประสิทธิ์ รัตนมณี และนราวดี โลหะจินดา 3) ศิลปนิพนธ์เรื่องการศึกษาพิธีกรรมโนรา: พิธีเหยียบเสน ของเจษฎาพร เพ็งจันทร์, ชมภูนุช เม่งห้อง และนลิน ปรีชา 4) วิทยานิพนธ์เรื่องโนราโรงครูตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ของพิทยา บุษรารัตน์ และนำเสนอในรูปแบบบรรยาย ผลการวิจัยพบว่าในพิธีกรรมเหยียบเสนมีการเชื่อมโยงกับเบื้องบนใน 3 ลักษณะ คือ การเชื่อมโยงกับเบื้องบนผ่านผู้ประกอบพิธีกรรม, การเชื่อมโยงกับเบื้องบนผ่านสถานที่ประกอบพิธีกรรม และการเชื่อมโยงกับเบื้องบนผ่านอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม
650_7‡aโนรา‡xพิธีกรรม‡xวิจัย
650_7‡aปรจิตวิทยากับการแพทย์
7102_‡aมหาวิทยาลัยนเรศวร‡bสาขาวิชาคติชนวิทยา
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
192997131 ณ113ก 2561วิทยานิพนธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด