เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1147926    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องVideo blog-based role play instructional model to enhance english oral communication skills of tourism students / Annop Bunjan
ชื่อเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว
Dewey Call #428.24 An-V 2016
ผู้แต่งAnnop Bunjan
หัวเรื่องENGLISH LANGUAGE--CONVERSATION AND PHRASE BOOKS--RESEARCH
พิมพลักษณ์ 2016
ชื่อเรื่องVideo blog-based role play instructional model to enhance english oral communication skills of tourism students / Annop Bunjan
ชื่อเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว
Dewey Call #428.24 An-V 2016
ผู้แต่งAnnop Bunjan
พิมพลักษณ์ 2016
หมายเหตุThesis(Ph.D.(English Language Studies))--Suranaree University of Technology,2016
หัวเรื่องENGLISH LANGUAGE--CONVERSATION AND PHRASE BOOKS--RESEARCH
ลักษณะทางกายภาพ322 p. : ill.
LDR 05260nam a2200205 4500
005 20230707110531.0
008 211217s2016 th a ||| | eng d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a428.24‡bAn-V 2016
1000_‡aAnnop Bunjan
24510‡aVideo blog-based role play instructional model to enhance english oral communication skills of tourism students /‡cAnnop Bunjan
24630‡aรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสอนของนักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว
260__‡c2016
300__‡a322 p. : ‡bill.
502__‡aThesis(Ph.D.(English Language Studies))--Suranaree University of Technology,2016
520__‡aงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบจําลองการใช้บทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก เพื่อพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยปากเปล่าของนักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว (2) ประเมินประสิทธิภาพบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจากแบบจําลองบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก โดย ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยปากเปล่า ของนักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียน บทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก และ (4) สํารวจ ความคิดเห็นของนักศึกษา ที่มีต่อบทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ มีสองกลุ่ม คือ (1) นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จำนวน 52 คน เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียน และ (2) นักศึกษา สาขาวิชาการท่องเที่ยว ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จำนวน 36 คน เพื่อศึกษาบทเรียนบทบาท สมมติผ่านวีดีโอบล็อก เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ สำหรับการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ผลของการวิจัยมีดังนี้คือ 1) แบบจําลองการใช้บทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อกเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ด้วยปากเปล่าของนักศึกษาประกอบด้วย 6 ขั้นตอนหลักและ 18 ขั้นตอนรองแบบจําลองดังกล่าว ได้รับการประเมินประสิทธิภาพด้านองค์ประกอบ จากผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับ “มีความเหมาะสม มาก” ( =4.53, SD = 0.502). 2) ค่าประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนรู้สำหรับบทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อกอยู่ ที่ระดับ 81.92/80.40 และ 82.35/8 1.00 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนด แสดงให้เห็นว่า บทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อกที่พัฒนาจากแบบจําลอง มีประสิทธิภาพใน การพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการพูดภาษาอังกฤษด้วยปากเปล่าของนักศึกษาหลังการเรียน โดยใช้ บทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอบล็อก สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาก่อนมีการใช้บทเรียน ดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า บทเรียนบทบาทสมมติผ่านวีดีโอ บล็อกที่พัฒนาขึ้นช่วยพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยปากเปล่าของนักศึกษา 4) ข้อค้นพบจากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมี ทัศนคติที่ดีต่อบทเรียนเนื่องจากบทเรียนมีความน่าสนใจ สะดวกและส่งเสริมความร่วมมือในการ เรียน กิจกรรมและแบบฝึกหัดต่าง ๆ ในบทเรียนล้วนช่วยพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษด้วยปาก เปล่าของนักศึกษา อย่างไรก็ตาม การใช้บทเรียนดังกล่าวผู้เรียนพบปัญหาในการเรียนเช่น สัญญาณ อินเตอร์เน็ตในมหาวิทยาลัย ระบบการล็อกอินเพื่อเข้าไปศึกษาบทเรียน ตลอดจนปัญหาเรื่องการบริหารจัดการเวลาของนักศึกษาเป็นต้น
520__‡aThe objectives of this study were to (1) develop a VBRP Instructional Model to enhance the English oral communication skills of tourism students; (2) evaluate the efficiency of the lessons developed from the VBRP Model as used by the tourism students based on the 80/80 standard; (3) compare the students' English oral communication skills proficiency before and after using the VBRP lessons, and (4) explore the tourism students' opinions toward learning English oral communication skills through the VBRP lessons. The study consisted of two samples groups of tourism students from Mae Fah Luang University: (1) fifty-two third year students participate in the try-out studies, and (2) thirty-six third year students who were different group of the try-out studies, to participate in a 6-week intervention. The selection of samples was based on the purposive sampling method. The results of the study were as follows: 1. The VBRP Instructional Model consisted of 6 major steps and 18 sub-steps. Overall, the VBRP Instructional Model was rated by the experts as very appropriate to be used as a framework to develop the VBRP lessons (7=4.53, SD = 0.502). 1. The efficiency of the learning process and product (Ej/E2) of the VBRP lessons was 81.92/80.40 and 82.35/81.00 respectively, which met the standard criterion set of 80/80. The results indicate that the VBRP lessons were effective for teaching the SONIS V students communication skills for English for Tourism. 2. The results of the students English oral communication skills proficiency test indicated that the students obtained significantly higher scores in the posttest than the pretest, which means that the students improved their English oral communication skills after studying the VBRP lessons. 3. The findings from the questionnaire and the semi-structured interviews showed that the students had positive opinions towards studying the VBRP lessons as they found them interesting, convenient, and collaborative. The activities and exercises provided in the lessons helped them to enhance their English oral communication skills, service provided by the university, the log-in system and time management caused problems.
650_0‡aENGLISH LANGUAGE‡xCONVERSATION AND PHRASE BOOKS‡xRESEARCH
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
E22982428.24 An-V 2016Thesisสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 5   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด