ออกจากระบบ
เข้าสู่ระบบ
หรือ
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้:
รหัสผ่าน:
ลืมรหัสผ่าน ?
ก
ก
ก
iOPAC
ค้นหา
ข่าวสาร
ข้อมูลสมาชิก
ยืมต่อ
ค่าปรับ
สถิติ
รายงาน
ช่วยเหลือ
คู่มือ
ปิด
ข้อมูลบรรณานุกรม
#1148128
แบบย่อ
|
แบบเต็ม
|
MARC
ตัวอย่าง
เพิ่มแท็ก
เพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แนะนำ
สั่งซื้อ
บันทึก
ส่งออก
Citation
ความนิยม
ประเภทวัสดุ
หนังสือ
ชื่อเรื่อง
การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี : รายงานการวิจัย / เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัย การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Dewey Call #
659.29 จ55ก
ผู้แต่ง
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
หัวเรื่อง
การประชาสัมพันธ์--วิจัย
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา--การศึกษาต่อ--วิจัย
การประชาสัมพันธ์--การวางแผน
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
ชื่อเรื่อง
การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี : รายงานการวิจัย / เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
ชื่อเรื่อง
รายงานการวิจัย การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Dewey Call #
659.29 จ55ก
ผู้แต่ง
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
เนื้อหา
แนวคิดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับสื่อประชาสัมพันธ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้และการเปิดรับสื่อ -- แนวคิดเกี่ยวกับการตัดสินใจ -- การประชาสัมพันธ์ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
หัวเรื่อง
การประชาสัมพันธ์--วิจัย
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา--การศึกษาต่อ--วิจัย
การประชาสัมพันธ์--การวางแผน
ลักษณะทางกายภาพ
75 แผ่น
LDR
06315nam a2200217 4500
005
20230524162344.0
008
220126s2564 th tha d
040
__
‡aSongkhla Rajabhat University
082
04
‡a659.29‡bจ55ก
100
0_
‡aเจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
245
10
‡aการศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี :‡bรายงานการวิจัย /‡cเจนจิรา เชื้อประดิษฐ์
246
30
‡aรายงานการวิจัย การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
260
__
‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2564
300
__
‡a75 แผ่น
505
2_
‡aแนวคิดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับสื่อประชาสัมพันธ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้และการเปิดรับสื่อ -- แนวคิดเกี่ยวกับการตัดสินใจ -- การประชาสัมพันธ์ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี -- ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
520
__
‡aการศึกษาวิจัยนี้เพื่อศึกษา 1)การประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 2)การเปิดรับการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 3)การตัดสินใจเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี 4)รวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 1,918 คน ได้แก่ นักเรียนและนักศึกษา โดยมีกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 331 คน การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณหากลุ่มตัวอย่างของ ยามาเน่ (Yamane อ้างถึงในบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ 2559, หน้า 10)โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ไดแก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า (t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1) การประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี พบว่าระดับความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ในด้านการประชาสัมพันธ์ทางสื่อบุคคล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์ทางสื่อบุคคล มากที่สุดคือ รุ่นพี่ที่เข้าศึกษาให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.11 อยู่ในระดับกลาง ในด้านการประชาสัมพันธ์ทางสื่อมวลชลโดยรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์ทางสื่อมวลชล มากที่สุดคือการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการศึกษาต่อของมหาวิทยาลัยผ่านช่องทางโทรทัศน์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 อยู่ในระดับมาก และในด้านการประชาสัมพันธ์ทางสื่อเฉพาะกิจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์ทางสื่อเฉพาะกิจ มากที่สุดคือ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลการศึกษาของมหาวิทยาลัยผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตทุกช่แอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 อยู่ในระดับมาก 2) การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่าระดับความคิดเห็นในการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีผ่านช่องทางสื่อบุคคล โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.98 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นในการเปิดรับข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางสื่อบุคคล มากที่สุด ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารจากนักเรียน/นักศึกษา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 อยู่ในระดับมาก ระดับความคิดเห็นในการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผ่านช่องทางสื่อมวลชน โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นในการเปิดรับข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางสื่อมวลชน มากที่สุด การประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยผ่านช่องทางโทรทัศน์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 อยู่ในระดับมาก และระดับความคิดเห็นในการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผ่านช่องทางสื่อเฉพาะกิจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15 เมื่อจำแนกเป็นรายเดือนพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นในการเปิดรับข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางสื่อเฉพาะกิจ มากที่สุดคือ การประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตทุกช่องทาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 อยู่ในระดับมาก 3) การตัดสินใจเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่า ระดับความคิดเห็นในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ด้านภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ๋อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็น มากที่สุดคือ ศิษย์เก่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็น มากที่สุด มีศูนย์อาหาร ห้องสมุด ห้องพยาบาล ห้องประชุม และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 อยู่ในระดับมาก ด้านหลักสูตรที่เปิดสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดเห็นในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มากที่สุดคือ อัตราค่าธรรมเนียมมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 อยู่ในระดับมาก ด้านบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 เมื่อจำแนกเป็นรายข้อพบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีระดับความคิดในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ด้านบุคลากรของมหาวิทยาลัย มากที่สุดคือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนของมหาวิทยาลัยให้คำแนะนำและตอบข้อสงสัยได้เป็นอย่างดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 อยู่ในระดับมาก 4) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี พบว่า ในการพัฒนาการประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษาของของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ควรมีการสร้างกลุ่มเครือข่ายพี่เลี้ยงที่สำเร็จการศึกษาแล้วเข้าแนะแนวการศึกษาให้แก่กลุ่มรุ่นน้องของโรงเรียนที่ตนเองสำเร็จการศึกษา การจัดฝึกอบรมการแนะแนวการศึกษาให้แก่กลุ่มนักศึกษาเพื่อแนะแนวการศึกษาตามโรงเรียนต่าง ๆ ตลอดจนการส่งเสริมการสร้างภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และประชาสัมพันะภาพลักษณ์ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย และปรับปรุงสภาพแวดล้อมในมหาวิทยาลัยให้มีทัศนียภาพที่สวยงามมีความปลอดภัย การพัฒนาหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและเหมาะสมกับสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
650
_7
‡aการประชาสัมพันธ์‡xวิจัย
650
_7
‡aการศึกษาขั้นอุดมศึกษา‡xการศึกษาต่อ‡xวิจัย
650
_7
‡aการประชาสัมพันธ์‡xการวางแผน
850
__
‡aSKRU
ทรัพยากร
เลือกห้องสมุด :
ทั้งหมด
วิทยาเขตสตูล
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
บาร์โค้ด
เลขหมู่/เล่มที่
Collection
ห้องสมุดสาขา
สถานที่จัดเก็บ
สถานะ
200222
659.29 จ55ก
วิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1
อยู่บนชั้น
จองทรัพยากร
สาขาที่รับ
วันที่คาดว่าจะรับ
ขอใช้หนังสือด่วน
เงื่อนไข
1. ส่งคำขอเวลา 8.30-11.00น รับหนังสือเวลา 16.00น.
2. ส่งคำขอหลังเวลา 11.00น. รับหนังสือในวันทำการถัดไป
3. ส่งคำขอ วันศุกร์ช่วงบ่าย หรือ วันเสาร์-อาทิตย์ รับหนังสือวันจันทร์ 16.00น.
4. ติดต่อรับหนังสือด่วนได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 3 *ภายใน 3 วัน*
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 2352
ความเห็น
|
บทวิเคราะห์
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
แบ่งปัน
แบ่งปันให้กับเพื่อนทั้งหมด
เพิ่ม Tag
สร้าง Tag ใหม่
แผนที่ตั้งทรัพยากร
Preview Dialog
Citation
อ้างอิง APA เวอร์ชัน 7
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์. (2564).
การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อ้างอิง MLA เวอร์ชัน 9
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์.
การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564.
อ้างอิง Chicago เวอร์ชัน 17
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์. 2564.
การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี :รายงานการวิจัย .
กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง Vancouver เวอร์ชัน 2
เจนจิรา เชื้อประดิษฐ์. การศึกษาการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี :รายงานการวิจัย . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2564.
สถิติ
อันดับการยืม / จากทั้งหมด
ไม่มีการยืม
อันดับการใช้งานภายใน/จากทั้งหมด
ไม่มีการใช้งาน
คะแนน/ผู้โหวต
0.0/0
ใช้ล่าสุดเมื่อ
-
จำนวนการยืม
0
เปิดดู (ครั้ง)
96
เพิ่มไปยังรายการ
0
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด
ผลการทำงาน
Undefined result.