เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148158    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย / จริยา ตันติวราชัย
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
 Guidelines of young tourist guide training for serving the toursm in Bangplee, Samutprakarn province
Dewey Call #338.4791 จ17น
ผู้แต่งจริยา ตันติวราชัย
หัวเรื่องมัคคุเทศก์--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
ชื่อเรื่องแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย / จริยา ตันติวราชัย
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
 Guidelines of young tourist guide training for serving the toursm in Bangplee, Samutprakarn province
Dewey Call #338.4791 จ17น
ผู้แต่งจริยา ตันติวราชัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
เนื้อหาแนวคิดทฤษฎีการสร้างและพัฒนาเยาวชน -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับอาชีพมัคคุเทศก์และมัคคุเทศก์น้อย -- แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วม -- แนวคิดทฤษฎีการท่องเที่ยวชุมชน -- แนวคิดทฤษฎีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ข้อมูลทั่วไปอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- ข้อมูลสภาพความพร้อมของเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมีส่วนร่วม -- การประเมินเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- สภาพความพร้อมของเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวทางการสร้าสงเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมีส่วนร่วม -- การประเมินเยาวชนสู่การเป็นมัคคกุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
หัวเรื่องมัคคุเทศก์--วิจัย
 การท่องเที่ยว--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ144 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04865nam a2200229 4500
005 20220131155912.0
008 220131s2563 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bจ17น
1000_‡aจริยา ตันติวราชัย
24510‡aแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ :‡bรายงานการวิจัย /‡cจริยา ตันติวราชัย
24630‡aรายงานการวิจัย แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
24631‡aGuidelines of young tourist guide training for serving the toursm in Bangplee, Samutprakarn province
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2563
300__‡a144 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aแนวคิดทฤษฎีการสร้างและพัฒนาเยาวชน -- แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับอาชีพมัคคุเทศก์และมัคคุเทศก์น้อย -- แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วม -- แนวคิดทฤษฎีการท่องเที่ยวชุมชน -- แนวคิดทฤษฎีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ข้อมูลทั่วไปอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- ข้อมูลสภาพความพร้อมของเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมีส่วนร่วม -- การประเมินเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- สภาพความพร้อมของเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวทางการสร้าสงเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมีส่วนร่วม -- การประเมินเยาวชนสู่การเป็นมัคคกุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
520__‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพความพร้อมของเยาวชน ในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ (2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมส่วนร่วม (3) เพื่อประเมินแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ เยาวชนที่เป็นสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน ตำบล/เทศบาล อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 97 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 31 คน มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลหลายวิธีเช่น การสังเกตและการสนทนาเป็นทางการ โดยแบบสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อฒูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อ (Content Analysis) เพื่อเชื่อมโยงเป็นร้อยแก้วและแสดงผลของข้อมูลสำคัญต่อแนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยและวิเคราะห์ผลประเมินการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากที่สุด มีการศึกษาในระดับอาชีวะศึกษา เป็นสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ อบต. ราชาเทวะการท่องเที่ยวในชุมชนที่อาศัยอยู่ เป็นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวในชุมชนที่ชื่นชอบเป็นการท่องเที่ยววิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น ยังไม่เคยได้รับการอบรมเป็นยุวมัคคุเทศก์ เคยเข้าร่วมในกิจกรรมพัฒนาชุมชนเป็นบางครั้ง ชอบการเรียนรู้และพัฒนาตนเองโดยผ่านลงมือทำจริงจัง มีทักษะที่ดีหรือสิ่งที่ตนเองทำได้ดีคือการทำงานเป็นทีม มีภาวะผู้นำ และความไม่มั่นใจตนเองเป็นอุปสรรคต่อการทำกิจกรรมเพื่อชุมชน และความพร้อมอยู่ในระดับปานกลาง (x=2.92) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านได้แก่ ด้านทักษะ หน้าที่และความรับผิดชอบในการนำเที่ยว (x=3.47) รองลงมา คือ ด้านการติดต่อประสานงานและแก้ไขปัญหาในการนำเที่ยว (x=3.07) ส่วนในด้านความรู้ในการนำเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวชุมชนผู้ตอบแบบสอบถามมีความพร้อมอยู่ในระดับน้อย (x=2.22) แนวทางการสร้างเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยแบบมีส่วนร่วม พบว่า ข้อมูลสำคัญของผู้บริหารปกครองท้องถิ่น เช่น กำหนดนโยบายที่ชัดเจนและประชุมร่วมกันของกองงานต่อกิจกรรมการเล่าเรื่องของดีชุมชนในทุกกิจกรรม กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลักและจัดสรรงบประมาณ กิจกรรมส่งเสริมเยาวชนนักเล่าเรื่องสร้างต้นแบบหรือนำร่องเยาวชนสู่การเป็นมัคคุเทศก์น้อยเพื่อการถ่ายทอดเรื่องราวในพื้นที่มีความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ชุมชน เป็นต้น และข้อมูลสำคัญของผู้ที่มีส่วนส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยตรง เช่น การมีประกาศเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนของหน่วยงานหรือการยอมรับเป็นชุมชน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในพื้นที่ของชุมชนช่วยให้เยาวชนได้ศึกษาและเรียนรู้เรื่องราวของชุมชน มีพื้นที่สาธารณะสำหรับอำนวยความสะดวกให้แก่กลุ่มเยาวชนใช้ในการแลกเปลี่ยนเรื่องราวของชุมชน และมีช่องทางสื่อสารกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวของดีในชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่เยาวชนสามารถเข้าถึงและสะดวกต่อการรับรู้ได้ง่ายเป็นต้น ซึ่งผลการประเมินเยาวชนหลังอบรมมัคคุเทศก์น้อยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x=3.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ในการนำเที่ยว (x=3.11) ส่วนในด้านการติดต่อประสานงานและแก้ไขปัญหาในการนำเที่ยวอยู่ในระดับมาก (x=3.69) และด้านทักษะ หน้าที่และความรับผิดชอบในการนำเที่ยวอยู่ในระดับมาก (x=3.58) และผลจากฝึกปฏิบัติการนำเที่ยว พบว่า ขาดประสบการณ์ด้านการติดต่อ ติดตามนักท่องเที่ยวอย่างใกล้ชิด รวมถึงยังขาดการประสานงานภายในทีมและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะการเปลี่ยนจุดนัดพบเพื่อการหลีกเลี่ยงเสียงดังอันเกิดจากการประชาสัมพันธ์ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว
650_7‡aมัคคุเทศก์‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยว‡xแง่เศรษฐกิจ‡zไทย‡zสมุทรปราการ‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡zไทย‡zสมุทรปราการ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200224338.4791 จ17นวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด