เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148159    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง : รายงานการวิจัย / สุนันทา แก้วสุข...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง
 Development of management model for educational quality development and local development project: a case study of Dhonburi Rajabhat University is the mentor institution
Dewey Call #379.1 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุนันทา แก้วสุข
 สมจินตนา จิรายุกุล
 สุธิดารัตน์ มัทธวัรัตน์
 สุธาสินี แสงมุกดา
หัวเรื่องการบริหารโครงการ
 การพัฒนาการศึกษา
 กิจกรรมการเรียนการสอน
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
ชื่อเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง : รายงานการวิจัย / สุนันทา แก้วสุข...[และคนอื่นๆ]
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง
 Development of management model for educational quality development and local development project: a case study of Dhonburi Rajabhat University is the mentor institution
Dewey Call #379.1 ก27
ผู้แต่งเพิ่มเติมสุนันทา แก้วสุข
 สมจินตนา จิรายุกุล
 สุธิดารัตน์ มัทธวัรัตน์
 สุธาสินี แสงมุกดา
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
เนื้อหาการพัฒนารูปแบบ -- ทฤษฎีระบบ -- โครงการและการบริหารจัดการโครงการ -- การบริหารจัดการโครงการ -- มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีกับการเป็นสถาบันพี่เลี้ยง -- ผลการศึกษาสภาพการดำเนินงาน ปัจจัยที่ส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารจัดการโครงการการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ 2562 -- ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง
หัวเรื่องการบริหารโครงการ
 การพัฒนาการศึกษา
 กิจกรรมการเรียนการสอน
ลักษณะทางกายภาพ143 แผ่น
LDR 03829nam a2200265 4500
005 20220202105655.0
008 220202s2563 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a379.1‡bก27
24510‡aการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง :‡bรายงานการวิจัย /‡cสุนันทา แก้วสุข...[และคนอื่นๆ]
24630‡aรายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง
24631‡aDevelopment of management model for educational quality development and local development project: a case study of Dhonburi Rajabhat University is the mentor institution
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2563
300__‡a143 แผ่น
5052_‡aการพัฒนารูปแบบ -- ทฤษฎีระบบ -- โครงการและการบริหารจัดการโครงการ -- การบริหารจัดการโครงการ -- มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีกับการเป็นสถาบันพี่เลี้ยง -- ผลการศึกษาสภาพการดำเนินงาน ปัจจัยที่ส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารจัดการโครงการการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ 2562 -- ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง
520__‡aการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินงาน ปัจจัยที่ส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยง ปีงบประมาณ 2562 และ 2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเป็นสถาบันพี่เลี้ยงที่มีประสิทธิภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ อาจารย์ที่รับผิดชอบโครงการ 20 คน ครู/ผู้บริหารของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 20 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยทำการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ 4 ฉบับ นำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัยตามแนวคิดทฤษฎีฐานราก และกำหนดองค์ประกอบของรูปแบบตามกรอบแนวคิดทฤษฎีระบบ แล้วทำการตรวจสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ โดยจัดประชุมสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิวิเคราะห์และวิจารณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพการดำเนินงาน มีการจัดอบรม 20 โครงการ โดยเรื่องที่จัดอบรมมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการผลิตสื่อและการใช้เทคโนโ,ยี ด้านหลักสูตรและการสอน ด้านทักษะการทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และด้านจิตวิทยาการศึกษา ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการในระดับมากที่สุด ปัจจัยที่ส่งเสริม คือ ด้านบุคลากร ได้แก่ อาจารย์มีความรับผิดชอบและมีความสามารถบริหารจัดการโครงการเป็นอย่างดี ผู้บริหารโรงเรียนและครูในโรงเรียนครื่อข่ายให้ความร่วมมือดี และวิทยากรมีความรู้ความสามารถ ด้านงบประมาณ มีงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ ด้านบริหารจัดการ มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบโดยวงจรคุณภาพ PDCA และจัดอบรมเน้นการปฏิบัติ และด้านสถานที่และอุปกรณ์ส่วนมากจัดที่ห้องประชุมของโรงเรียน และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่พบ ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านการบริหารจัดการ และด้านงบประมาณที่มีผลเกี่ยวข้องกัน คือ ครูในโรงเรียนบางแห่งมีกิจกรรมที่ต้องทำมาก ทำให้การติดต่อประสานงานการจัดอบรมต้องติดต่อหลายครั้ง หรือเมื่อครูมีภารกิจอื่นแทรกทำให้ครูเข้าร่วมอบรมไม่ได้ จำนวนครูที่เข้าอบรมจึงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณไม่าสามารถทำได้ตามที่ขออนุมัติไว้ ด้านสถานที่และอุปกรณ์ อินเตอร์เน็ตของโรงเรียน/ครูช้า ทำให้ครูทำกิจกรรมไม่ทัน 2) ผลการพัฒนารูปแบบ ได้รูปแบบ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ปัจจัยนำเข้า ส่วนที่ 2 กระบวนการ ส่วนที่ 3 ผลผลิต/ผลลัพท์ ส่วนที่ 4 ปัจจัยที่ส่งเสริม และส่วนที่ 5 ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค ปละผลการทดสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ โดยการจัดประชุมสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า รูปแบบที่ได้มีความเที่ยงตรง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
650_7‡aการบริหารโครงการ
650_7‡aการพัฒนาการศึกษา
650_7‡aกิจกรรมการเรียนการสอน
7000_‡aสุนันทา แก้วสุข
7000_‡aสมจินตนา จิรายุกุล
7000_‡aสุธิดารัตน์ มัทธวัรัตน์
7000_‡aสุธาสินี แสงมุกดา
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200220379.1 ก27วิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด