เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148161    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย / เบญริสา ตันเจริญ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
 The outstanding community product selection, to develop a valued tourism in Bangplee district, Samutprakarn province
Dewey Call #338.4791 บ53ก
ผู้แต่งเบญริสา ตันเจริญ
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--วิจัย
 ผลิตภัณฑ์ชุมชน--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--ไทย--สมุทรปราการ
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
ชื่อเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย / เบญริสา ตันเจริญ
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
 The outstanding community product selection, to develop a valued tourism in Bangplee district, Samutprakarn province
Dewey Call #338.4791 บ53ก
ผู้แต่งเบญริสา ตันเจริญ
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
เนื้อหาข้อมูลทั่วไปของอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชน -- แนวคิดด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนเพื่อความยั่งยืน -- แนวคิดการพัฒนาและส่งเสริมเอกลักษณ์อาชีพ -- แนวคิดแม่แบบโมเดลธุรกิจ (Business model canvas) -- แนวคิด Service design process -- แนวคิดเกี่ยวกับการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ -- แนวคิดการจัดการท่องเที้ยวชุมชนโดยชุมชน -- แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่มอาชีพต้นแบบ -- หน่วยงานที่ดูแลผลิตภัณฑ์ชุมชนและการท่องเที่ยวชุมชน -- ข้อมูลพื้นฐาน สภาพการดำเนินการ สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒฯาผลิตภัณฑ์ในชุมชนอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- วิเคราะห์กลุ่มอาชีพชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
หัวเรื่องการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--วิจัย
 ผลิตภัณฑ์ชุมชน--วิจัย
 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม--ไทย--สมุทรปราการ
ลักษณะทางกายภาพ116 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 04541nam a2200229 4500
005 20220202153311.0
008 220202s2563 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a338.4791‡bบ53ก
1000_‡aเบญริสา ตันเจริญ
24510‡aการเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ :‡bรายงานการวิจัย /‡cเบญริสา ตันเจริญ
24630‡aรายงานการวิจัย การเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
24631‡aThe outstanding community product selection, to develop a valued tourism in Bangplee district, Samutprakarn province
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2563
300__‡a116 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
5052_‡aข้อมูลทั่วไปของอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชน -- แนวคิดด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ -- แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนเพื่อความยั่งยืน -- แนวคิดการพัฒนาและส่งเสริมเอกลักษณ์อาชีพ -- แนวคิดแม่แบบโมเดลธุรกิจ (Business model canvas) -- แนวคิด Service design process -- แนวคิดเกี่ยวกับการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ -- แนวคิดการจัดการท่องเที้ยวชุมชนโดยชุมชน -- แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่มอาชีพต้นแบบ -- หน่วยงานที่ดูแลผลิตภัณฑ์ชุมชนและการท่องเที่ยวชุมชน -- ข้อมูลพื้นฐาน สภาพการดำเนินการ สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒฯาผลิตภัณฑ์ในชุมชนอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ -- วิเคราะห์กลุ่มอาชีพชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
520__‡aการศึกษาเรื่อง "การเลือกผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ" มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพการดำเนินการ สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน กลุ่มอาชีพชุมชนต้นแบบแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่า และแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่า และแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยใช้ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงต่อการพัฒนากลุ่มอาชีพชุมชน ได้แก่ (1) ผู้บริหารท้องถิ่น ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล (2) พัฒนาชุมชนจังหวัด พัฒนาชุมชนเมือง (3) ผู้นำชุมชนได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน (4) ผู้นำกลุ่มอาชีพชุมชน (5) สมาชิกกลุ่มอาชีพชุมชน (6) นักท่องเที่ยวเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) และแบบสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลพื้นฐาน สภาพการดำเนินการสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชนอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ กลุ่มน้ำเพื่อสุขภาพบางปลา (THC) 2)วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพัฒนาการแปรรูปเกษตร 3) กลุ่มเครื่องหนังปลากระเบน 4) วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยแปรรูปเห็ด 5)กลุ่มลัลลี่วิลล์ 6) กลุ่มนันทพันธ์ ผลิตภัณฑ์ผ้าใยบัว 7) กลุ่มสบู่ฟักข้าว มัชชุรินทร์ มีโครงสร้างที่โดดเด่น แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของตัวผลิตภัณฑ์ แต่วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยแปรรูปเห็ดจะมีลักษณะที่โดดเด่นเรื่องมีผลิตภัณฑ์วัตถุดิบเป็นของตนเอง สามารถผลิตเองได้ และมีสูตรเป็นของตนเองทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งที่ต้องหาซื้อวัตถุดิบเป็นของตนเอง สามารถผลิตเองได้ และมีสูตรเป็นตนเองทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งที่ต้องหาซื้อวัตถุดิบจากที่อื่น โดยเห็ดถั่งเช่าได้เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ในระดับ 4 ดาว ได้รับรางวัลหลายรางวัลซึ่งล่าสุดได้รับเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ สำหรับ กลุ่มอาชีพชุมชนต้นแบบเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยแปรรูปเห็ด เนื่องจากมีความพร้อมทางด้านสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของกลุ่มอาชีพชุมชน และศักยภาพของกลุ่มชุมชน สามารถผลักดันเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าโดยผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชุมชนที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจส่วนใหญ่เป็นสินค้ามาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน แล้วต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนแต่ยังขาดการพัฒนาต่อยอดให้เกิดความน่าสนใจ และดึงดูดนัท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชุมชนที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ คือ เห็ดถังเช่า เห็ดหลินสจือ ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่นเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณค่าในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ต้องมีการพัฒฯาด้านการบริหารจัดการ และด้านการตลาดของวิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยแปรรูปเห็ด เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณคีร ในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ในการผลักดันให้เป็นศูนย์การเรียนรู็เห้โแบบครบวงจร เพื่อเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวการศึกษาดูงานด้านการผลิต เพื่อเปิดโอกาสด้านการผลิตเห็ดให้กับนักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจทั้งกลุ่มผู้สูงวัย และเด็กนักเรียน นักศึกษา ในการเพิ่มความรู้และประสบการณ์ทางด้านการผลิต และถ่ายทอดต่อไปจากรุ่นสู่รุ่น
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡xวิจัย
650_7‡aผลิตภัณฑ์ชุมชน‡xวิจัย
650_7‡aการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม‡zไทย‡zสมุทรปราการ
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200225338.4791 บ53กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด