เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148163    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานวิจัย = Socialization local wisdoms in SELFCARE of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province /
ชื่อเรื่องรายงานวิจัย กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ
 Socialization local wisdoms in selfcare of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province
Dewey Call #613.0438 จ111ก
ผู้แต่งจักรพันธ์ พรมฉลวย
หัวเรื่องผู้สูงอายุ--การดูแล--วิจัย
 ผู้สูงอายุ--สุขภาพและอนามัย--วิจัย
 ภูมิปัญญาท้องถิ่น--สมุทรปราการ--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
ชื่อเรื่องกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานวิจัย = Socialization local wisdoms in SELFCARE of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province /
ชื่อเรื่องรายงานวิจัย กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ
 Socialization local wisdoms in selfcare of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province
Dewey Call #613.0438 จ111ก
ผู้แต่งจักรพันธ์ พรมฉลวย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2563
เนื้อหาแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น -- แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Self care theory) ทฤษฎีการสูงอายุ (Aging theory) -- ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
หัวเรื่องผู้สูงอายุ--การดูแล--วิจัย
 ผู้สูงอายุ--สุขภาพและอนามัย--วิจัย
 ภูมิปัญญาท้องถิ่น--สมุทรปราการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ138 แผ่น
LDR 03216nam a2200229 4500
005 20220211144539.0
008 220203s2563 th tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a613.0438‡bจ111ก
1000_‡aจักรพันธ์ พรมฉลวย
24510‡aกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ :‡bรายงานวิจัย =‡bSocialization local wisdoms in SELFCARE of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province /‡c
24630‡aรายงานวิจัย กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ
24631‡aSocialization local wisdoms in selfcare of elderly in samutprakarn in Samutprakarn province
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2563
300__‡a138 แผ่น
5052_‡aแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น -- แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น -- ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Self care theory) ทฤษฎีการสูงอายุ (Aging theory) -- ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
520__‡aการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน ด้วยวิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ -- 2) ศึกษากระบวนการของการถ่ายทอดภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุไปยังผู้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา และ 3) เพื่อประเมินผลการเรียนรู้การถ่ายทอดการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาตามแบบแผนการวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงปริมาณที่ได้จากการสำรวจกลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 398 คนจากการสุ่มหลายขั้นตอน โดยใช้แบบสอบถามประมาณ 5 ระดับเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน กลุ่มที่ 2 การศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาใน 6 อำเภอ โดยใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 18 คนผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุมีการพึ่งพาอาศัยสิง่แวดล้อมตามลักษณะของวิถีชุมชนที่อาศัยอยู่โดยมีการใช้พืชพรรณและทรัพยากรธรรมชาติในแหล่งที่อยู่อาศัยมาใช้เป็นทั้งอาหารและยาในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลใกล้ชิดการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการดูแลสุขภาพตนเองและสามารถุ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นได้ โดยมีระบบสังคมเป็นสิ่งที่กำหนดบทบาทหน้าที่ทางสังคมของบุคคลในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางสังคมร่วมกัน 2. กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุไปยังผู้รับ การถ่ายทอดภูมิปัญญา พบว่า ศักยภาพของบุคคลด้านความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อและผลการใช้ส่งผลต่อพฤติกรรมการถ่ายทอดที่เหมาะสมกับบริบททางสังคมด้วยการบอกเล่า การปฏิบัติจริง การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ และการสาธิต ที่เป็นกระบวนการของการถ่ายทอดภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุไปยังผู้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา 3. ผลประเมินการเรียนรู้การถ่ายทอดการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ พบว่า มีการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี โดยผู้สูงอายุเป็นทั้งผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา มีการปฏิบัติจริงกับตนเองโดยสามารถบอกเล่าถึงผลการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองแก่ผู้อื่นที่นำไปใช้และสามารถใช้สื่อเรียนรู้ในการถ่ายทอดอย่างสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการบริหารจัดการในระบบสังคมอย่างเหมาะสม
650_7‡aผู้สูงอายุ‡xการดูแล‡xวิจัย
650_7‡aผู้สูงอายุ‡xสุขภาพและอนามัย‡xวิจัย
650_7‡aภูมิปัญญาท้องถิ่น‡zสมุทรปราการ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200229613.0438 จ111กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด