เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #1148170    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ชื่อเรื่องการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย = Knowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district / จีรภัทร อาดนารี
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ
 Knowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district
Dewey Call #306.42 จ317ก
ผู้แต่งจีรภัทร อาดนารี
หัวเรื่องการบริหารองค์ความรู้--วิจัย
 ภูมิปัญญาชาวบ้าน --ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
ชื่อเรื่องการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ : รายงานการวิจัย = Knowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district / จีรภัทร อาดนารี
ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย การจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ
 Knowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district
Dewey Call #306.42 จ317ก
ผู้แต่งจีรภัทร อาดนารี
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2564
หัวเรื่องการบริหารองค์ความรู้--วิจัย
 ภูมิปัญญาชาวบ้าน --ไทย--สมุทรปราการ--วิจัย
ลักษณะทางกายภาพ253 แผ่น : ภาพประกอบ
LDR 02428nam a2200205 4500
005 20220211144737.0
008 220204s2564 th a ||| | tha d
040__‡aSongkhla Rajabhat University
08204‡a306.42‡bจ317ก
1000_‡aจีรภัทร อาดนารี
24510‡aการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ :‡bรายงานการวิจัย =‡bKnowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district /‡cจีรภัทร อาดนารี
24630‡aรายงานการวิจัย การจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษาในอำเภอเมืองสมุทรปราการ
24631‡aKnowledge management and local wisdom lesson distilled in integration to school curriculum on Mueang Samut Prakan district
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,‡c2564
300__‡a253 แผ่น : ‡bภาพประกอบ
520__‡aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้และการถอดบทเรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการ 2) เพื่อศึกษาการบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการสู่หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วยผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 10 คนรวม 12 ภูมิปัญญา ศึกษานิเทศก์ ครู/อาจารย์ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอเมืองสมุทรปราการ ทั้งหมดเป็นเพศหญิง มีอายุ 40-60 ปีและ 61 ปีขึ้นไป เท่ากัน จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา อาศัยอยู่ในตำบลบางด้วนมากที่สุด ผลงานส่วนใหญ่เป็นงานที่ต้องใช้ฝีมือและมีความเก่าแก่ สาขาที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นมากที่สุดคือ สาขาศิลปกรรม (ด้านหัตถกรรม) รองลงมาคือ สาขาคหกรรมด้านอาหาร กระบวนการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์มีลักษณะที่แตกต่างกันคือ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การสืบทอดจากบรรพบุรุษ การเรียนรู้จากครูอาจารย์และการรับการฝึกอบรม สำหรับกรรมวิธีในการผลิตก็จะไม่ซับซ้อนเน้นการผลิตที่มำกันได้ง่ายและใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น 2) การบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเมืองสมุทรปราการ สู่หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ สามารถบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้ทั้งในราบวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยสามารถนำไปบูรณาการในสาระการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และหลักการใช้ภาษาไทย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
650_7‡aการบริหารองค์ความรู้‡xวิจัย
650_7‡aภูมิปัญญาชาวบ้าน ‡zไทย‡zสมุทรปราการ‡xวิจัย
850__‡aSKRU
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
200240306.42 จ317กวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อ.บรรณราชนครินทร์ ชั้น 1   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด